ชายแดนมาเลเซีย-ไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ด่านตรวจคนเข้าเมืองช่องสะเดา ถ่ายจากฝั่งมาเลเซีย (เคดาห์)

พรมแดนมาเลเซีย-ไทย มีทั้งชายแดนระหว่างประเทศทั้งบนบกผ่านคาบสมุทรมาเลย์ และทางน้ำทางช่องแคบมะละกา รวมไปถึง อ่าวไทย/ทะเลจีนใต้. มาเลเซีย ทอดตัวอยู่ทางตอนใต้ของ ประเทศไทย มี แม่น้ำโกลก เป็นพรมแดนระหว่างประเทศ ที่มีความยาวประมาณ 95 กิโลเมตรกั้นประเทศไทยและมาเลเซีย โดยประเทศไทยอยู่ทางเหนือ และประเทศมาเลเซียอยู่ทางใต้

พรมแดนระหว่างประเทศนี้ได้ใช้ร่วมกันมาตั้งแต่ 1909 ระหว่างไทย ซึ่งในตอนนั้นมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สยาม และอังกฤษ ซึ่งเริ่มเข้ามามีบทบาทในตอนเหนือของมาเลเซีย ซึ่งก็คือ รัฐเคดาห์ กลันตัน ปะลิศ และรังกานูในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในสมัยก่อนทั้งสี่รัฐนี้เคยอยู่ภายใต้การปกครองของสยามมาก่อน และเป็นรัฐพรมแดนระหว่างประเทศของมาเลเซีย ซึ่งได้แก่(เรียงจากตะวันตกไปตะวันออก) ปะลิศ เคดาห์ เปรัก และกลันตัน กับ 4 จังหวัดพรมแดนระหว่างประเทศของไทย (เรียงจากตะวันตกไปตะวันออก) คือ จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส

เนื้อหา

[แก้] พรมแดนทางบก

จากทิศตะวันตกไปจนถึงทิศตะวันออก ชายแดนระหว่างประเทศมาเลเซียและประเทศไทยมีความยาวประมาณ 646.5 กิโลเมตา โดยมีจุดเริ่มต้นที่ แม้น้ำเปอร์ลิศ

[แก้] พรมแดนทางทะเล

แบ่งออกเป็น 2 ช่วง - คือในช่องแคบมะละกา และอ่าวไทย/ทะเลจีนใต้

[แก้] ช่องแคบมะละกา

[แก้] การข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ

[แก้] โดยทางรถยนต์

[แก้] โดยทางรถไฟ

ชายแดนไทย-มาเลเซีย มีเส้นทางรถไฟระหว่างประเทศ 2 เส้นทาง

  • ปะดังเบซาร์ - ปะดังเบซาร์(สงขลา): เป็นขบวนรถไฟที่ให้บริการระว่างเมืองปะดังเบซาร์ในมาเลเซีย และเมืองปะดังเบซาร์ในจังหวัดสงลา ของประเทศไทย ก่อนจะเข้าสู่สถานีหาดใหญ่ ซึ่งชื่อเมืองทั้ง 2 เหมือนกัน.



[แก้] อ้างอิง

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

Gnome-globe.svg ชายแดนมาเลเซีย-ไทย เป็นบทความเกี่ยวกับ แม่น้ำ ภูเขา หรือสถานที่ทางภูมิศาสตร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหาหรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
ข้อมูลเกี่ยวกับ ชายแดนมาเลเซีย-ไทย ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ
ภาษาอื่น