ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ (อังกฤษ: King's Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ โดยจัดขึ้นที่ประเทศไทย เริ่มจัดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2511 และมีการจัดต่อเนื่องทุกปีจนถึงปัจจุบันยกเว้นในปี 2526 2528 และ 2551 โดยในบางปีจะมีการรับเชิญทีมสโมสรมาร่วมแข่งด้วย ทีมที่ชนะสูงสุดคือฟุตบอลทีมชาติไทย ชนะทั้งหมด 11 ครั้ง โดย 2 ครั้งเป็นแชมป์คู่กับประเทศอื่น ทีมชนะรองลงมาคือ ทีมชาติเกาหลีใต้ ชนะ 9 ครั้ง

เนื้อหา

[แก้] ผลการแข่งขัน

ครั้งที่ ปี ชิงชนะเลิศคิงส์คัพ ชิงอันดับ
ชนะเลิศ ผลการ
แข่งขัน
รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผลการ
แข่งขัน
อันดับ 4
39 2552 Flag of เดนมาร์ก เดนมาร์ก 2 - 2
(ลูกโทษ 5-3)
Flag of ไทย ไทย Flag of เลบานอน เลบานอน 1-0 Flag of เกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ
พ.ศ. 2551 ไม่มีการจัด
38 2550 Flag of ไทย ไทย 1 - 0 Flag of อิรัก อิรัก Flag of เกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ - Flag of อุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
37 2549 Flag of ไทย ไทย 3 - 1 Flag of เวียดนาม เวียดนาม Flag of สิงคโปร์ สิงคโปร์ - Flag of คาซัคสถาน คาซัคสถาน
36 2548 Flag of ลัตเวีย ลัตเวีย 2 - 1 Flag of เกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ ไม่มีการแข่งชิงที่ 3
Flag of ไทย ไทย - Flag of โอมาน โอมาน
35 2547 Flag of สโลวาเกีย สโลวาเกีย 1-1
(ลูกโทษ 5-4)
Flag of ไทย ไทย Flag of ฮังการี ฮังการี 5-0 Flag of เอสโตเนีย เอสโตเนีย
34 2546 Flag of สวีเดน สวีเดน 4-0 Flag of เกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ Flag of ไทย ไทย 3-1 Flag of กาตาร์ กาตาร์
33 2545 Flag of เกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 4-3
(ลูกโทษ)
Flag of ไทย ไทย Flag of กาตาร์ กาตาร์ 2-0 Flag of สิงคโปร์ สิงคโปร์
32 2544 Flag of สวีเดน สวีเดน 3-0 Flag of the People's Republic of China จีน Flag of ไทย ไทย 2-0 Flag of กาตาร์ กาตาร์
31 2543 Flag of ไทย ไทย 5-1 Flag of ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ Flag of บราซิล บราซิล U-20 1-0 Flag of เอสโตเนีย เอสโตเนีย
30 2542 Flag of บราซิล บราซิล U-20 7-1 Flag of เกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ Flag of ไทย ไทย 3-1 Flag of ฮังการี ฮังการี ลีก XI
29 2541 Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 6-5
(ลูกโทษ)
Flag of อียิปต์ อียิปต์ Flag of เดนมาร์ก เดนมาร์ก B 3-0 Flag of ไทย ไทย
28 2540 Flag of สวีเดน สวีเดน ลีก XI 2-0 Flag of ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น Flag of ไทย ไทย 3-1 Flag of โรมาเนีย โรมาเนีย
27 2539 Flag of โรมาเนีย โรมาเนีย 2-1 Flag of เดนมาร์ก เดนมาร์ก Flag of ไทย ไทย 5-2 Flag of ฟินแลนด์ ฟินแลนด์
26 2538 Flag of รัสเซีย รอตอร์วอลโกกราด 3-0 Flag of ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น XI ไม่มีการแข่งชิงที่ 3
Flag of ไทย ไทย - Flag of ไทย ไทย B
25 2537 Flag of ไทย ไทย B 4-0 Flag of เยอรมนี เวสท์ฟาลีอา Flag of รัสเซีย รอตอร์วอลโกกราด 5-3
(ลูกโทษ)
Flag of ไทย ไทย
24 2536 Flag of the People's Republic of China จีน 4-0 Flag of ไทย ไทย Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 6-5
(ลูกโทษ)
Flag of ไทย ไทย โอลิมปิก
23 2535 Flag of ไทย ไทย 2-0 Flag of เยอรมนี เบอร์ลิน Flag of ไทย ไทย 1-0 Flag of the People's Republic of China เทียนจิน
22 2534 Flag of the People's Republic of China จีน 3-1
(ลูกโทษ)
Flag of the Soviet Union รอตอร์วอลโกกราด Flag of ไทย ไทย 5-4 Flag of ไทย ไทย โอลิมปิก
21 2533 Flag of ไทย ไทย 2-1
(ต่อเวลา)
Flag of the Soviet Union รอตอร์วอลโกกราด Flag of เกาหลีใต้ เจจู 5-4
(ลูกโทษ)
Flag of the People's Republic of China เซี่ยงไฮ้
20 2532 Flag of ไทย ไทย 3-1 Flag of the Soviet Union รอตอร์วอลโกกราด Flag of เกาหลีใต้ ลักกีโกลด์สตาร์ 2-1 Flag of the People's Republic of China จีน
19 2531 Flag of เดนมาร์ก เดนมาร์ก โอลิมปิก 1-0 Flag of ออสเตรีย สวารอฟสกีตีรอล Flag of ไทย ไทย 4-2 Flag of the Soviet Union สหภาพโซเวียต XI
18 2530 Flag of เกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 1-0 Flag of เกาหลีใต้ พอสโกอะตอมส์ Flag of ไทย ไทย 3-2 Flag of อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
17 2529 Flag of เกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 2-1 Flag of เดนมาร์ก อาร์ฮุส Flag of ไทย ไทย 1-0 Flag of the People's Republic of China ออกัสเฟิร์ส
พ.ศ. 2528 ไม่มีการจัด
16 2527 Flag of ไทย ไทย 3-0 Flag of อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย Flag of ออสเตรเลีย โพเอน 5-4
(ลูกโทษ)
 ???
พ.ศ. 2526 ไม่มีการจัด
15 2525 Flag of ไทย ไทย 4-3
(ลูกโทษ)
Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ Flag of ไทย ไทย บี ??? Flag of สิงคโปร์ สิงคโปร์
14 2524 Flag of ไทย ไทย 2-1
(ต่อเวลา)
Flag of เกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ Flag of โปแลนด์ โปโลเนีย วารส์ซาวา 2-0 Flag of the People's Republic of China ออกัสเฟิร์ส
13 2523 Flag of ไทย ไทย - Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้
(ชนะเลิศร่วมกัน เสมอ 0-0)
Flag of ไทย ไทย บี - Flag of the People's Republic of China จีน
(อันดับ 3 ร่วมกัน เสมอ 2-2)
12 2522 Flag of ไทย ไทย ??? Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ Flag of ไทย ไทย บี - Flag of สิงคโปร์ สิงคโปร์
(อันดับ 3 ร่วมกัน)
11 2521 Flag of มาเลเซีย มาเลเซีย 3-2 Flag of สิงคโปร์ สิงคโปร์ Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้  ???  ???
10 2520 Flag of มาเลเซีย มาเลเซีย - Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้
(ชนะเลิศร่วมกัน เสมอ 0-0)
Flag of ไทย ไทย- Flag of อินเดีย อินเดีย
(ไม่มีการชิงที่สาม)
9 2519 Flag of ไทย ไทย - Flag of มาเลเซีย มาเลเซีย
(ชนะเลิศร่วมกัน เสมอ 1-1)
Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3-1 Flag of ไทย ไทย บี
8 2518 Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 1-0 Flag of สหภาพพม่า พม่า Flag of ไทย ไทย- Flag of มาเลเซีย มาเลเซีย
(ไม่มีการชิงที่สาม)
7 2517 Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3-1
(ต่อเวลา)
Flag of ไทย ไทย Flag of มาเลเซีย มาเลเซีย 3-0 Flag of กัมพูชา กัมพูชา
6 2516 Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 2-1 Flag of มาเลเซีย มาเลเซีย Flag of ไทย ไทย ??? Flag of สหภาพพม่า พม่า
5 2515 Flag of มาเลเซีย มาเลเซีย 1-0 Flag of ไทย ไทย Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ - Flag of สิงคโปร์ สิงคโปร์
(อันดับสามร่วมกันหลังจากเสมอ)
4 2514 Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 1-0 Flag of ไทย ไทย Flag of ประเทศเวียดนามใต้ เวียดนามใต้ ??? Flag of อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
3 2513 Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 1-0 Flag of ไทย ไทย Flag of มาเลเซีย มาเลเซีย 3-1 Flag of อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
2 2512 Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 1-0 Flag of อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย Flag of ประเทศเวียดนามใต้ เวียดนามใต้ 7-0 Flag of ลาว ลาว
1 2511 Flag of อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 1-0 Flag of สหภาพพม่า พม่า Flag of ไทย ไทย 6-0 Flag of มาเลเซีย มาเลเซีย

[แก้] คิงส์คัพ ครั้งที่ 38

คิงส์คัพครั้งที่ 38 จะถูกจัดขึ้นระหว่างวันที่ 22-28 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยมีทีมเข้าร่วม 4 ทีม [1]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/-
Flag of ไทย ทีมชาติไทย 9 3 3 0 0 6 3 +3
Flag of อิรัก ทีมชาติอิรักชุดบี 6 3 2 0 1 5 3 2
Flag of เกาหลีเหนือ ทีมชาติเกาหลีเหนือ 1 3 0 1 2 4 6 −2
Flag of อุซเบกิสถาน ทีมชาติอุซเบกิสถาน 1 3 0 1 3 3 6 −3


รอบพบกันหมด

22 ธ.ค. 2550
17:00 น.
Flag of ไทย ไทย 3 - 2 ธงของสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน สนามราชมังคลากีฬาสถาน กรุงเทพฯ
ศรายุทธ ชัยคำดี น.8,39 ณัฐพร พันธ์ฤทธิ์ น.90 ทากิเยฟ น.43,59

22 ธ.ค. 2550
19:15 น.
ธงของประเทศอิรัก อิรัก 1 - 0 ธงของประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ สนามราชมังคลากีฬาสถาน กรุงเทพฯ
วิสซัม ซากิ น.64

24 ธ.ค. 2550
16:30 น.
ธงของประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 2 - 2 ธงของสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน สนามราชมังคลากีฬาสถาน กรุงเทพฯ
อัน ชอน ฮอค น.41,คิม คุม อิล น.88 โซโลมิน พาเวล น.53,ยาฟารอฟ ติเมอร์ น.65

24 ธ.ค. 2550
18:45 น.
Flag of ไทย ไทย 2 - 1 ธงของประเทศอิรัก อิรัก สนามราชมังคลากีฬาสถาน กรุงเทพฯ
ณัฐพร พันธ์ฤทธิ์ น.44 อาเหม็ด อาบิด อาลี น.83 (og) มุสลิม มูบารัก น.49

26 ธ.ค. 2550
16:30 น.
ธงของประเทศอิรัก อิรัก 3 - 1 ธงของสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน สนามราชมังคลากีฬาสถาน กรุงเทพฯ

26 ธ.ค. 2550
18:45 น.
Flag of ไทย ไทย 1 - 0 ธงของประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ สนามราชมังคลากีฬาสถาน กรุงเทพฯ
ปฏิพาล เพชรพูล

รอบชิงชนะเลิศ

28 ธ.ค. 2550
18:00 น.
Flag of ไทย ไทย 1 - 0 ธงของประเทศอิรัก อิรัก สนามราชมังคลากีฬาสถาน กรุงเทพฯ

[แก้] คิงส์คัพ ครั้งที่ 37

คิงส์คัพครั้งที่ 37 จะถูกจัดขึ้นระหว่างวันที่ 24-30 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โดยมีทีมเข้าร่วม 4 ทีม [2]

โดยในเดือนตุลาคมได้มีการวางแผน เชิญ 6 ประเทศร่วมแข่งขันร่วมกับทีมไทย 2 ทีม [3] ซึ่งรวมถึง Flag of สหภาพพม่า ทีมชาติพม่า Flag of ลาว ทีมชาติลาว และ Flag of อินโดนีเซีย ทีมชาติอินโดนีเซีย ที่ทางสมาคมฟุตบอลฯได้เปลี่ยนใจยกเลิกไป โดยทีมที่ร่วมแข่งขันนั้น ทีมชาติสิงคโปร์เป็นทีมที่มีอันดับโลกสูงสุด ตามอันดับของฟีฟ่า คืออันดับที่ 116 รองลงมาคือทีมไทย 125, คาซัคสถาน 135, และ เวียดนาม 160[4]

[แก้] คิงส์คัพ ครั้งที่ 36

คิงส์คัพ ครั้งที่ 36 นี่จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 24-30 ธันวาคม 2548 โดยมีทีมเข้าร่วมจาก 4 ประเทศ และการแข่งขันจัดในภาคใต้ของประเทศไทย ในจังหวัดกระบี่ พังงา และ ภูเก็ต โดยมีการแข่งขันในสาย และอันดับหนึ่งและอันดับสอง จะมาแข่งขันชิงชนะเลิศ โดยการแข่งขันนี้ไม่มีการชิงอันดับสาม

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย แต้ม +/-
Flag of ลัตเวีย ลัตเวีย 3 1 2 0 4 3 5 1
Flag of เกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 3 1 1 1 4 3 4 1
Flag of ไทย ไทย 3 1 1 1 2 3 4 -1
Flag of โอมาน โอมาน 3 1 0 2 3 4 3 -1

ชิงชนะเลิศ

  • ลัตเวีย 2-1 เกาหลีเหนือ

[แก้] คิงส์คัพ ครั้งที่ 35

คิงส์คัพ ครั้งที่ 35 มีทีมเข้าร่วมจาก 4 ประเทศ โดยทีมที่ชนะเลิศคือ ทีมชาติสโลวาเกีย โดยมีผลการแข่งขันดังนี้

รองชนะเลิศ
ชิงอันดับสาม
ชิงชนะเลิศ

[แก้] คิงส์คัพ ครั้งที่ 31

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย แต้ม +/-
Flag of ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 3 2 1 0 7 2 7 5
Flag of ไทย ไทย 3 1 1 1 2 8 4 -6
Flag of บราซิล บราซิล U-20 3 1 0 2 7 4 3 3
Flag of เอสโตเนีย เอสโตเนีย 3 1 0 2 3 5 3 -2

รอบพบกันหมด

  • ไทย 0-0 ฟินแลนด์
  • ไทย 2-1 เอสโตเนีย
  • บราซิล 7-0 ไทย
  • เอสโตเนีย 1-0 บราซิล
  • ฟินแลนด์ 4-2 เอสโตเนีย
  • ฟินแลนด์ 2 - 0 บราซิล

รอบสุดท้าย

  • อันดับ 3 - บราซิล 1-0 เอสโตเนีย
  • ชิงชนะเลิศ - ไทย 5-1 ฟินแลนด์

[แก้] คิงส์คัพ ครั้งที่ 25

มีทีมแข่งขันทั้งหมด 8 ทีม คือ Flag of ไทย ทีมชาติไทย 2 ทีม, Flag of มาเลเซียทีมชาติมาเลเซีย, Flag of the People's Republic of China ทีมชาติจีน, Flag of รัสเซีย รอตอร์วอลโกกราด, Flag of เยอรมนี เวสท์ฟาลีอา, Flag of ญี่ปุ่น ทีมรวมเจลีก และ ทีมธนาคารคีออฟคูเนง

[แก้] อ้างอิง

ภาษาอื่น