อับราฮัม ลินคอล์น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

(เปลี่ยนทางมาจาก อับราฮัม ลิงคอล์น)
อับราฮัม ลิงคอล์น
อับราฮัม ลินคอล์น

ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1861 – 15 เมษายน ค.ศ. 1865
รองประธานาธิบดี   ฮัลนิบัล ฮัมลิน (1861-1865)
แอนดรูว์ จอห์นสัน (1865)
สมัยก่อนหน้า เจมส์ บูแคนัน
สมัยถัดไป แอนดรูว์ จอห์นสัน

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แห่งมลรัฐอิลลินอยส์ เขตที่ 7
ดำรงตำแหน่ง
4 มีนาคม ค.ศ. 1847 – 3 มีนาคม ค.ศ. 1849
สมัยก่อนหน้า จอห์น เฮนรี
สมัยถัดไป โธมัส แอล ฮาร์ริส

เกิด 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809
เขตชนบทฮาร์ดิน, มลรัฐเคนทักกี
ถึงแก่อสัญกรรม 15 เมษายน ค.ศ. 1865
วอชิงตัน ดี.ซี.
สังกัดพรรค Whig (1832-1854) , Republican (1854-1864) , National Union (1864-1865)
สมรสกับ แมร์รี่ ทอดด์ ลิงคอล์น
ศาสนา attended Christian churches, but never joined any church
ลายมือชื่อ Abraham Lincoln Signature.png

อับราฮัม ลิงคอล์น (อังกฤษ: Abraham Lincoln) ประธานาธิบดีคนที่ 16 ของสหรัฐอเมริกา เป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องว่า เป็นประธานาธิบดีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งของสหรัฐอเมริกา เริ่มดำรงตำแหน่งเมื่อ 4 มีนาคม ค.ศ. 1861 จนกระทั่งถูกยิงเสียชีวิต ลินคอร์น ประกาศว่าเขาต่อต้านระบบทาสในสหรัฐอเมริกา[1][2] ลินคอร์นชนะตัวแทนจากพรรครีพับลิกันในปี ค.ศ. 1860 และได้รับเลือกให้เป็นประธานาธิบดีในปีถัดมา ระหว่างการดำรงตำแหน่ง ลินคอร์นได้ช่วยรักษาประเทศ โดยการเป็นผู้นำในการถอนตัวออกจากผู้สบคบร่วมคิดในสงครามประชาชนอเมริกัน ของรัฐบาลกลางสหรัฐในสงครามอเมริกัน เขายังได้แนะนำมาตรการในการเลิกทาส ซึงนโยบายอันนี้ได้ประกาศใช้ในปี ค.ศ. 1863 และได้รับการผลักดันให้บรรจุเข้าไปในการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 13 ในปี ค.ศ. 1865

อับราฮัม ลิงคอล์น ได้ติดตามในความพยายามในการทำสงครามเพื่อชัยชนะอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการคัดเลือกนายพลระดับสูง รวมไปถึง ยูลิสซิส เอส. แกรนท์ นักประวัติศาสตร์สรุปเอาไว้ว่า ลิงเคิล์นได้เข้าไปช่วยเหลือแต่ละกลุ่มในพรรครีพับลิกันเป็นอย่างดี การนำมาของผู้นำแต่ละกลุ่มเข้ามาร่วมในคณะรัฐมนตรีของเขา และบังคับให้พวกเขาเหล่านั้นร่วมมือกัน ลิงเคิล์นประสบความสำเร็จ ในการลดความรุนแรงของสงครามที่ทำให้เกิดความหวาดกลัว (Trent Affair) กับสหราชอาณาจักร ในปี ค.ศ. 1864

ฝ่ายที่อยู่ตรงข้ามกับสงคราม (Copperheads) ได้วิจารณ์ลิงเคิล์นเกี่ยวกับการปฏิเสธการทำข้อตกลงเกี่ยวกับนโยบายการเลิกทาส ความขัดแย้งโดยเฉพาะพวกรีพับลิกันที่เป็นพวกหัวรุนแรง หัวหน้ากลุ่มที่มีความคิดในการเลิกทาสในพรรครีพับลิกัน ได้วิจารณ์ว่าลิงเคิล์นออกมาเคลื่อนไหวช้าเกินไป การเอาสิ่งกีดขวางมากั้นถนนไว้ ลิงเคิล์นประสบความสำเร็จ ในการปลุกระดมมวลชนโดยการพูดโน้มน้าวใจประชาชนในที่สาธารณะ ยกตัวอย่างเช่น Gettysburg Address แต่นี่ก็เป็นเพียงตัวอย่างหนึ่งเท่านั้น ลิงเคิล์นมองหาจังหวะในการเร่งให้มีการจัดการชุมนุมอีกครั้ง

อับราฮัม ลินคอร์นถูกยิงเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1865 เป็นประธานาธิบดีคนแรกที่ถูกลอบสังหารในประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกา และทำให้เขากลายเป็นผู้เสียสละเพื่อความสามัคคีของคนในชาติในความคิดของประชาชนคนรุ่นหลัง

อับราฮัม ลิงคอล์น เป็น 1 ใน 4 ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาที่รูปใบหน้าได้รับการสลักไว้ที่อนุสรณ์สถานแห่งชาติ เมานต์รัชมอร์ (Mount Rushmore) ใบหน้าของเขาปรากฏอยู่บนธนบัตรราคา 5 ดอลลาร์สหรัฐ และเหรียญราคา 1 เซนต์ ชื่อของเขาถูกนำมาตั้งเป็นชื่อเรือดำน้ำนิวเคลียร์ และเรือบรรทุกเครื่องบิน

[แก้] อ้างอิง

  1. ^ "[I]n his short autobiography written for the 1860 presidential campaign, Lincoln would describe his protest in the Illinois legislature as one that 'briefly defined his position on the slavery question, and so far as it goes, it was then the same that it is now." This was in reference to the anti-expansion sentiments he had then expressed. Doris Kearns Goodwin, Team of Rivals: The Political Genius of Abraham Lincoln (2005) p. 91.
  2. ^ Holzer pg. 232. Writing of the Cooper Union speech, Holzer notes, "Cooper Union proved a unique confluence of political culture, rhetorical opportunity, technological innovation, and human genius, and it brought Abraham Lincoln to the center stage of American politics at precisely the right time and place, and with precisely the right message: that slavery was wrong, and ought to be confined to the areas where it already existed, and placed on the 'course of ultimate extinction... .'"

[แก้] ดูเพิ่ม

สมัยก่อนหน้า อับราฮัม ลินคอล์น สมัยถัดไป
เจมส์ บูแคนัน 2leftarrow.png Seal Of The President Of The Unites States Of America.svg
ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา คนที่ 16
(4 มีนาคม พ.ศ. 2404 - 15 เมษายน พ.ศ. 2408)
2rightarrow.png แอนดรูว์ จอห์นสัน