แม่แบบ:รายการอ้างอิง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

[แก้ไข] [ล้างแคช] เอกสารกำกับแม่แบบ

เนื้อหา

[แก้] วิธีใช้งาน

ให้ใส่ในส่วนอ้างอิง ซึ่งจะแสดงผลเหมือน <references /> แต่จะมีการจัดย่อหน้าและทำตัวหนังสือให้เล็กลง ใส่ใต้หัวข้อ "อ้างอิง" หรือ "เชิงอรรถ"

  • พารามิเตอร์ที่ 1 ใช้กำหนดว่าจะแบ่งส่วนอ้างอิงออกเป็นกี่คอลัมน์ (ดูหัวข้อถัดไป)
  • พารามิเตอร์ที่ 2 หรือพารามิเตอร์ชื่อ group ใช้ระบุกลุ่มของการอ้างอิง สามารถใส่เป็น note, footnote ฯลฯ เพื่อระบุเชิงอรรถ ซึ่งชื่อนี้ต้องเป็นชื่อเดียวกับ <ref group="...">
  • พารามิเตอร์ชื่อ colwidth ใช้กำหนดความกว้างคอลัมน์ ใส่หน่วยด้วยเช่น 25em, 200px, 50%

[แก้] การรองรับในเบราว์เซอร์

การแบ่งเนื้อหาออกเป็นหลายคอลัมน์เป็นการใช้คุณลักษณะของ CSS3 ซึ่งอยู่ระหว่างการพัฒนา ดังนั้นจึงมีเพียงบางเบราว์เซอร์เท่านั้นที่สามารถแบ่งคอลัมน์ได้ [1][2]

  • มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ และเบราว์เซอร์อื่นที่ใช้ตัววาดหน้าเว็บเกกโก รองรับการแบ่งหลายคอลัมน์ แต่มีข้อบกพร่องสองประการ
    • อาจทำให้เกิดบรรทัดลอย (widowed line)
    • ยูอาร์แอลขนาดยาวอาจซ้อนทับกับเนื้อหาในคอลัมน์อื่นเมื่อพิมพ์ลงกระดาษ
  • อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ ไม่รองรับการแบ่งหลายคอลัมน์ และรุ่น 8 ก็ยังไม่มีกำหนดการที่จะทำให้รองรับ [3]
  • ซาฟารี รุ่น 3.2.2 ถึง 4 beta กูเกิล โครม และเบราว์เซอร์อื่นที่ใช้ตัววาดหน้าเว็บเว็บคิต มีบั๊กในการตัดบรรทัดในลิงก์ในคอลัมน์ การรองรับการแบ่งหลายคอลัมน์จึงถูกเอาออกจนกว่าบั๊กจะได้รับการแก้ไข
  • โอเปร่า ไม่รองรับการแบ่งหลายคอลัมน์

[แก้] อ้างอิง

  1. ^ CSS3 Multi-Column Thriller (2005-12-30). สืบค้นวันที่ 2006-11-24
  2. ^ CSS3 module: Multi-column layout. W3C (2005-12-15). สืบค้นวันที่ 2006-11-24
  3. ^ CSS Compatibility and Internet Explorer: Multi-column Layout. Microsoft Developer Network. Microsoft. สืบค้นวันที่ 2008-09-15

[แก้] ดูเพิ่ม