จังหวัดสุรินทร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดสุรินทร์
ตราประจำจังหวัดสุรินทร์ ตราผ้าพันคอลูกเสือ จังหวัดสุรินทร์
ตราประจำจังหวัด ตราผ้าผูกคอลูกเสือ
Cquote1.png สุรินทร์ถิ่นช้างใหญ่ ผ้าไหมงาม ประคำสวย ร่ำรวยปราสาท ผักกาดหวาน
ข้าวสารหอม งามพร้อมวัฒนธรรม
Cquote2.png
ข้อมูลทั่วไป
ชื่ออักษรไทย สุรินทร์
ชื่ออักษรโรมัน Surin
ผู้ว่าราชการ นายระพี ผ่องบุพกิจ
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2553)
ISO 3166-2 TH-32
สีประจำกลุ่มจังหวัด ส้ม ███
ต้นไม้ประจำจังหวัด กันเกรา
ดอกไม้ประจำจังหวัด กันเกรา
ข้อมูลสถิติ
พื้นที่ 8,124.056 ตร.กม.[1]
(อันดับที่ 24)
ประชากร 1,377,827 คน[2] (พ.ศ. 2552)
(อันดับที่ 10)
ความหนาแน่น 169.60 คน/ตร.กม.
(อันดับที่ 18)
ศูนย์ราชการ
ที่ตั้ง ศาลากลางจังหวัดสุรินทร์ ถนนหลักเมือง ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 32000
โทรศัพท์ (+66) 0 4451 1387
เว็บไซต์ จังหวัดสุรินทร์
แผนที่
 
แผนที่ประเทศไทย เน้นจังหวัดสุรินทร์

สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

จังหวัดสุรินทร์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง หรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม และมีปราสาทขอมหลายแห่ง มีผู้คนหลายเผ่าและภาษา เช่น ไทยอีสานเขมร ส่วย หรือ กูย

เนื้อหา

[แก้] หน่วยการปกครอง

การปกครองแบ่งออกเป็น 17 อำเภอ 158 ตำบล 2011 หมู่บ้าน

  1. อำเภอเมืองสุรินทร์
  2. อำเภอชุมพลบุรี
  3. อำเภอท่าตูม
  4. อำเภอจอมพระ
  5. อำเภอปราสาท
  6. อำเภอกาบเชิง
  7. อำเภอรัตนบุรี
  8. อำเภอสนม
  9. อำเภอศีขรภูมิ
  10. อำเภอสังขะ
  11. อำเภอลำดวน
  12. อำเภอสำโรงทาบ
  13. อำเภอบัวเชด
  14. อำเภอพนมดงรัก
  15. อำเภอศรีณรงค์
  16. อำเภอเขวาสินรินทร์
  17. อำเภอโนนนารายณ์
 แผนที่

[แก้] อาณาเขตติดต่อ

[แก้] การศึกษา

ระดับอุดมศึกษา

ระดับอาชีวศึกษา

โรงเรียน

[แก้] สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

[แก้] สถานที่ท่องเที่ยว

[แก้] เทศกาลท่องเที่ยว

  • ประเพณีเทศกาลงานช้างและงานกาชาดจังหวัด (มีการแสดงแสงสี ทั้งในงานและนอกงานที่ปราสาทศีขรภูมิ)
  • ประเพณีแซนโฏนตา บูชาบรรพบุรุษ (สารทเขมร)
  • ประเพณีขึ้นเขาพนมสวาย บูชาเทพเจ้า สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 9
  • ประเพณีบวชนาคช้าง
  • เทศกาลงานข้าวหอมมะลิสุรินทร์
  • ประเพณีแข่งเรือ ณ ลุ่มแม่น้ำมูล
  • ประเพณีนมัสการขึ้นกลุ่มปราสาทตาเมือน
  • เทศกาลสนมเมืองดอกจาน ประสานใจไหว้ปู่ตา (มีการประกวดธิดาเมืองดอกจาน ผ้าใหมลายดอกจาน พร้อมแสงสีเสียง ฯลฯ) ณ อำเภอสนม
  • ประเพณีสืบสานตำนานปราสาทภูมิโปน ต.ดม อ.สังขะ (มีการแสดงแสงสีเสียง ตำนานเนียงด็อฮฺธม ช่วงวันที่ 8 - 12 เมษายน ทุกปี)
  • ประเพณีบุญบั้งไฟประจำปี ณ.อำเภอรัตนบุรี มีการประกวดขบวนแห่ ขบวนรำ และ จุดบั้งไฟขึ้นสูงใหญ่ที่สุดใน จังหวัดสุรินทร์ ช่วง เดือน พฤษภาคมของทุกๆปี อ.รัตนบุรี

[แก้] ชาวสุรินทร์ที่มีชื่อเสียง

[แก้] พระราชาคณะ

[แก้] นักการเมือง

[แก้] นักกีฬา

[แก้] ผู้กำกับภาพยนตร์

[แก้] นักแสดง

[แก้] นักร้อง

[แก้] สื่อมวลชนอิสระ

[แก้] วงค์ดนตรี

[แก้] อ้างอิง

  1. ^ ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ข้อมูลการปกครอง." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad76/jungwad76.htm [ม.ป.ป.]. สืบค้น 18 เมษายน 2553.
  2. ^ กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/stat/y_stat.html 2553. สืบค้น 30 มีนาคม 2553.

[แก้] ดูเพิ่ม

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

พิกัดภูมิศาสตร์: 14°53′N 103°29′E / 14.89°N 103.49°E / 14.89; 103.49


BlankMap Thailand icon.png จังหวัดสุรินทร์ เป็นบทความเกี่ยวกับ จังหวัด อำเภอ หรือเขตการปกครองต่าง ๆ ของประเทศไทย ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหาหรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
ข้อมูลเกี่ยวกับ จังหวัดสุรินทร์ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ หรือ ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประเทศไทย