มณฑลเหลียวหนิง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

(เปลี่ยนทางมาจาก เหลียวหนิง)
China มณฑลเหลียวหนิง
ชื่อย่อ: 辽 (เหลียว)
China-Liaoning.png
ชื่อเรียก
ภาษาไทย มณฑลเหลียวหนิง
ภาษาจีน
- อักษรจีนตัวย่อ 辽宁省
- อักษรจีนตัวเต็ม 遼寧省
- พินอิน Liáoníng Shěng
อักษรโรมัน Liaoning
ข้อมูลทั่วไป
ความหมายของชื่อ 辽 เหลียว - เหลียวหยาง
宁 หนิง - Ningyuan (ปัจจุบันคือ Xingcheng)
ประเภทเขตปกครอง มณฑล
เมืองเอก เฉิ่นหยาง
เมืองสำคัญ ต้าเหลียน
เลขาธิการพรรค Li Keqiang
ผู้ว่าการ Zhang Wenyue
พื้นที่ 145,900 ตร.กม. (อันดับที่ 21)
ประชากร (ข้อมูลปี พ.ศ. 2547)
- จำนวน 42,170,000 (อันดับที่ 14)
- ความหนาแน่น 289 คน/ตร.กม.
(อันดับที่ 15)
GDP
(พ.ศ. 2547)
687.3 พันล้านเหรินหมินปี้ (อันดับที่ 8)
- ต่อหัว 16,300 เหรินหมินปี้ (อันดับที่ 9)
HDI
(พ.ศ. 2548)
0.808 สูง (อันดับที่ 5)
กลุ่มชาติพันธุ์ ฮั่น - 84 %
แมนจู - 13 %
มองโกล - 2 %
ฮุ่ย - 0.6 %
เกาหลี - 0.6 %
ซีเบอ - 0.3 %
จำนวนจังหวัด 14
จำนวนเมือง/อำเภอ 100
จำนวนตำบล 1,511
ISO 3166-2 CN-21
เว็บไซต์ http://www.ln.gov.cn/

มณฑลเหลียวหนิง (จีนตัวย่อ: 辽宁省 จีนตัวเต็ม: 遼寧省) ชื่อย่อ เหลียว(辽)ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ทิศตะวันตกติดเหอเป่ย์ เหนือติดจี๋หลิน มองโกเลียใน ทิศตะวันออกเฉียงใต้มีแม่น้ำยาลู่ว์เจียงกั้นเขตแดนกับประเทศเกาหลีเหนือ ทางใต้เป็นทะเลเหลืองและทะเลป๋อไฮ่ มีเมืองหลวงชื่อ เฉิ่นหยาง มีเนื้อที่ 145,900 ก.ม.

เนื้อหา

[แก้] ที่ตั้งและอาณาเขต

มณฑลเหลียวหนิงมีพื้นที่ติดต่อดังนี้

[แก้] ประชากร

มีประชากร (2004) 42,170,000 คน ความหนาแน่น 289 จีดีพี (2003) 687.3 พันล้าน เหรินหมินปี้ ต่อประชากร 16,300 ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น

[แก้] ภูมิประเทศ

เขตภูเขาทางทิศตะวันออกเป็นพื้นที่ป่าที่สำคัญของมณฑล บริเวณที่ราบติดทะเลทางตะวันตกของมณฑล ถูกเรียกตามความคุ้นเคยว่า “ระเบียงเหลียวซี” ภูมิอากาศ เหลียวหนิงตั้งอยู่ปีกตะวันออกของภาคพื้นทวีป

[แก้] ภูมิอากาศ

มีสภาพอากาศมรสุมภาคพื้นทวีปแบบอบอุ่นแถบเหนือ มีฤดูหนาวอันยาวนาน ฤดูร้อนที่อบอุ่น และฤดูใบไม้ผลิ-ใบไม้ร่วงช่วงสั้นๆ

[แก้] เศรษฐกิจ

ทรัพยากร พบแหล่งแร่สะสมอยู่ถึง 64 ชนิด เช่น เหล็ก แร่โบร์รัม หินแมกนีไซท์ เพชร หยก หินปูน เป็นต้น มีแหล่งน้ำมันมากเป็นอันดับสามของประเทศ

การเกษตรเหลียวหนิงเป็นหนึ่งในมณฑลเกษตรกรรมที่สำคัญมณฑลหนึ่งของจีน เกษตรกรรมที่ได้รับการพัฒนาปรับปรุงโครงสร้างการผลิตและส่งเสริมคุณภาพให้ดีขึ้น

อุตสาหกรรมหลัก ได้แก่ อุตสาหกรรมปิโตรเคมี หลอมโลหะ โทรคมนาคม และเครื่องจักรกล