ประเทศศรีลังกา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สิงหล:
SrilankaFont.png

Sri Lankā Prajathanthrika Samajavadi Janarajaya
ศรี ลังกา ประชาฐานถริกา สมชาวดี ชนราชยะ

ทมิฬ: இலங்கை சனநாயக சோஷலிசக் குடியரசு
Illankai Chananaayaka
Chosalisa Kudiyarasu
อิฬลัณคาย ชนนยกา โชษาลิษา กุติยรสุ
สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตย
ศรีลังกา
ธงชาติศรีลังกา ตราแผ่นดินของศรีลังกา
ธงชาติ ตราแผ่นดิน
คำขวัญไม่มี
เพลงชาติศรีลังกามาตา
(มารดาแห่งศรีลังกา)
ที่ตั้งของศรีลังกา
เมืองหลวง ศรีชัยวรเทนปุระ-คอตเต
6°54′N 79°54′E / 6.9°N 79.9°E / 6.9; 79.9
เมืองใหญ่สุด โคลัมโบ
ภาษาทางการ ภาษาสิงหลและภาษาทมิฬ
รัฐบาล สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตย
 -  ประธานาธิบดี มหินทะ ราชปักษา
 -  นายกรัฐมนตรี รัตนสิริ วิกรมานะเยก
เอกราช
  เป็นที่ยอมรับ จาก สหราชอาณาจักร
4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 
เนื้อที่
 -  ทั้งหมด 65,610 กม.² (ลำดับที่ 122)
 -  พื้นน้ำ (%) 1.3%
ประชากร
 -  2548 ประมาณ 20,743,000 (อันดับที่ 52)
 -  2544 สำรวจ 18,732,255 
 -  ความหนาแน่น 316/กม.² (อันดับที่ 35)
GDP (PPP) 2548 ประมาณ
 -  รวม 86.72 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (อันดับที่ 61)
 -  ต่อประชากร 4,300 ดอลลาร์สหรัฐ (อันดับที่ 111)
HDI (2546) 0.751 (กลาง) (อันดับที่ 93)
สกุลเงิน รูปี (LKR)
เขตเวลา (UTC+5:30)
รหัสอินเทอร์เน็ต .lk
รหัสโทรศัพท์ +94

ประเทศศรีลังกา (อังกฤษ: Sri Lanka) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (อังกฤษ: Democratic Socialist Republic of Sri Lanka) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียใกล้ชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลงกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ. 2517 และเป็นชื่อที่ยังคงใช้ในบางโอกาส ซึ่งชื่อในปัจจุบันคือ ศรีลังกา ชีวิตบนเกาะนี้ ได้รับผลกระทบจากการสู้รบ ระหว่างรัฐบาล และกองทัพพยัคฆ์ปลดปล่อยทมิฬอีแลม (Liberation Tigers of Tamil Eelam) ซึ่งได้มีข้อตกลงหยุดยิงเมื่อต้นปี พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002)

เนื้อหา

[แก้] ประวัติศาสตร์

[แก้] การเมือง

[แก้] การแบ่งเขตการปกครอง

ศรีลังกาประกอบด้วย 8 จังหวัด (provinces) ดังนี้ (ชื่อเมืองหลวงอยู่ในวงเล็บ)

[แก้] ภูมิอากาศ

อากาศช่วงพื้นที่ราบลุ่ม ภูมิอากาศของโคลัมโบจะอยู่ประมาณที่ 27 องศาเซลเซียส ในพื้นที่ราบสูงอากาศจะเย็น อุณหภูมิสามารถลงถึง 16 องศาเซลเซียส จากภูเขาที่มีความสูง 2,000 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล แดดออกตลอดทั้งวัน ช่วงลมมรสุมอากาศของศรีลังกา ลมมรสุมทางตะวันออกเฉียงใต้จะพาฝนมาด้วยตั้งแต่เดือน พ.ค. ถึง ก.ค. และพัดต่อไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทางตอนใต้และทางภาคกลาง แต่ภาคเหนือและภาคตะวันออกจะได้รับอิทธิพลลมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงเดือน ธ.ค. ถึง ม.ค.

[แก้] เศรษฐกิจ

[แก้] ประชากร

19,742,439 คน (2546) อัตราการเพิ่มของประชากรร้อยละ 0.83 (2546) ประชาการเป็นชาว สิงหล ร้อยละ 74 ทมิฬ ร้อยละ 8 แขกมัวร์ (มุสลิมจากอินเดียและตะวันออกกลาง) ร้อยละ 7 และอื่น ๆ คือ พวกเชื้อชาติเบอร์เกอร์ เวดด้า และมาเลย์ มีอัตราการรู้หนังสือโดยรวม ร้อยละ 92.3 (ปี2547) เพศชาย ร้อยละ 94.8 และเพศหญิง ร้อยละ 90[1]

[แก้] วัฒนธรรม

[แก้] ศาสนา

พุทธศาสนาร้อยละ 70 ฮินดูร้อยละ 7 คริสเตียนร้อยละ 6 อิสลาม ร้อยละ 7 และอื่น ๆ ร้อยละ 10 [1]

ในอดีตลังกา และ สยามมีความสัมพันธไมตรีด้านพระพุทธศาสนาอันเกิดนิกาย สยามวงศ์ในดินแดนลังกา แต่ก่อนหน้านั้นลังกาก็ได้เผยแพร่พระพุทธศาสนาในดินแดนสยามอันเกิดนิกาย ลังกาวงศ์ รัฐธรรมนูญบัญญัติให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติในปี พ.ศ. 2515 มีข้อความเป็นภาษาอังกฤษว่า "The Republic of Sri Lanka shall give to Buddhism the foremos place and accordingly it shall be the duty of The state to protect and foster Buddhism while assuring to all religions the rights secured by Section 18 (i) (d)" ปัจจุบันชาวศรีลังกานับถือพุทธศาสนา 80% ฮินดู 7% คริสต์ 6% อิสลาม 7%

[แก้] อ้างอิง

ภาษาอื่น