ประเทศเลโซโท

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

Muso oa Lesotho
มูโซ โออา เลโซโท
Kingdom of Lesotho
ราชอาณาจักรเลโซโท
ธงชาติเลโซโท ตราแผ่นดินของเลโซโท
ธงชาติ ตราแผ่นดิน
คำขวัญKhotso, Pula, Nala (สันติภาพ ฝน มั่งคั่ง)
เพลงชาติLesotho Fatse La Bontata Rona
ที่ตั้งของเลโซโท
เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)
มาเซรู

29°18′S 27°28′E

ภาษาทางการ ภาษาเซโซโท ภาษาอังกฤษ
รัฐบาล ประชาธิปไตยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของประเทศ
  พระมหากษัตริย์
นายกรัฐมนตรี
สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3
ปากาลิทา โมซิซิลี
เอกราช
  ประกาศเอกราช จากสถานะรัฐในอารักขาของ สหราชอาณาจักร
4 ตุลาคม พ.ศ. 2509 
เนื้อที่
 -  ทั้งหมด 30,355 กม.² (ลำดับที่ 140)
 -  พื้นน้ำ (%) น้อย
ประชากร
 -  2548 ประมาณ 1,795,000 (อันดับที่ 146)
 -  2547 สำรวจ 1,861,959 
 -  ความหนาแน่น 59/กม.² (อันดับที่ 138)
GDP (PPP) 2548 ประมาณ
 -  รวม 4.996 พันล้าน (อันดับที่ 150)
 -  ต่อประชากร 2,113 (อันดับที่ 139)
HDI (2545) 0.497 (ต่ำ) (อันดับที่ 149)
สกุลเงิน โลติ (LSL)
เขตเวลา (UTC+2)
รหัสอินเทอร์เน็ต .LS
รหัสโทรศัพท์ +266

เลโซโท เป็นประเทศเล็ก ๆ ที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศแอฟริกาใต้เป็น 1 ใน 3 ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขในแอฟริกาคือ ประเทศโมร็อกโก ประเทศสวาซิแลนด์และตัวของ ประเทศเลโซโท เอง

เนื้อหา

[แก้] ประวัติศาสตร์

เลโซโทเป็นหนึ่งในสามของประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (อีก 2 ประเทศ คือ ประเทศโมร็อกโก และประเทศสวาซิแลนด์) เดิมประเทศเลโซโทมีชื่อว่าบาซูโต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2361 โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 1 เป็นผู้ปกครอง ต่อมา ชนเผ่าซูลู และคนผิวขาวเข้าไปตั้งหลักแหล่งในประเทศ และถูกแอฟริกาใต้รุกราน บาซูโตจึงต้องขอรับความคุ้มครองจากรัฐบาลสหราชอาณาจักร และมีฐานะเป็นรัฐในปกครองของสหราชอาณาจักร (British protectorate of Basutoland) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 ต่อมาเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2509 ได้ประกาศเอกราชและเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นเลโซโท

[แก้] การเมือง

ระบอบการเมือง ระบอบประชาธิปไตย มีกษัตริย์เป็นประมุข โดยฝ่ายบริหาร มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้นำฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติรัฐสภา (National Assembly) แบบ 2 สภา (bicameral) ประกอบด้วยวุฒิสมาชิก 33 คน (ซึ่งในจำนวนนี้ 11 คน กษัตริย์เป็นผู้เสนอและพรรครัฐบาลเป็นผู้แต่งตั้งอีก 22 คนมาจากหัวหน้าเผ่าต่าง ๆ) และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 65 คน ซึ่งอยู่ในวาระคราวละ 5 ปี ฝ่ายตุลาการ ประกอบด้วย ศาลสูง ศาลอุทธรณ์ ศาลพิพากษา และศาลพื้นเมือง

[แก้] การแบ่งเขตการปกครอง

เลโซโทมี 10 เขต คือ:

[แก้] ภูมิศาสตร์

[แก้] เศรษฐกิจ

[แก้] ประชากร

[แก้] วัฒนธรรม

[แก้] อ้างอิง



ASpacer.gifBlankMap-World6.svg ประเทศเลโซโท เป็นบทความเกี่ยวกับ ประเทศ เมือง หรือเขตการปกครองต่าง ๆ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหาหรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
ข้อมูลเกี่ยวกับ ประเทศเลโซโท ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ

ภาษาอื่น