ภาษาแคชเมียร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ภาษาแคชเมียร์
कॉशुर کٲشُر กัศซูร์ 
เสียงอ่าน: kạ̄šur
พูดใน: อินเดีย (เดลฮี, จัมมูร์และแคชเมียร์, รัฐปัญจาบ, รัฐอุตรประเทศ); ปากีสถาน (อาซัด แคชเมียร์)[1] 
ภูมิภาค: เอเชียใต้
จำนวนผู้พูด: 4.6 ล้านคน[2]
ตระกูลภาษา: อินโด-ยูโรเปียน
 ภาษากลุ่มอินโด-อิหร่าน
  ภาษากลุ่มอินโด-อารยัน
   ภาษากลุ่มอินโด-อารยันตะวันตกเฉียงเหนือ
    ภาษากลุ่มดาร์ดิก
     ภาษาแคชเมียร์ 
ระบบการเขียน: อักษรอาหรับแบบเปอร์เซีย, อักษรเทวนาครี 
สถานะทางการ
ภาษาทางการใน: ธงของสาธารณรัฐอินเดีย อินเดีย [3]
ผู้วางระเบียบ: ไม่มี
รหัสภาษา
ISO 639-1: ks
ISO 639-2: kas
ISO 639-3: kas
Indic script
บทความนี้มีอักษรในตระกูลอักษรพราหมีปรากฏอยู่ คุณอาจเห็นสัญลักษณ์อื่นแทนตัวอักษร หรือมองเห็นสระวางผิดตำแหน่ง หากคอมพิวเตอร์ของคุณไม่สามารถแสดงผลได้อย่างถูกต้อง
สารานุกรมภาษา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมภาษา

ภาษาแคชเมียร์หรือภาษากัศมีร์เป็นภาษากลุ่มดาร์ดิก ใช้พูดในแคชเมียร์ จัดอยู่ในตระกูลอินโด-ยุเปียน สาขาอินโด-อารยัน เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม ในยุคแรกเขียนด้วยอักษรสรทะ แล้วเปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับแบบเปอร์เซียภายหลัง วรรณกรรมภาษาแคชเมียร์มีมาก แต่ไม่ได้รับการสืบทอด ผู้พูดภาษานี้ก็ลดจำนวนลง ภาษานี้เพิ่งได้รับการยอมรับให้เป็นภาษาราชการและมีการสอนในโรงเรียนได้ไม่นาน นิตยสารและหนังสือพิมพ์ภาษาแคชเมียร์มีเพียงฉบับเดียว

[แก้] อ้างอิง