ภาษาในประเทศไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ภาษาในประเทศไทย มีผู้พูดหลายภาษาด้วยกัน โดยมีภาษาหลักคือภาษาไทยมาตรฐาน นอกจากนั้นยังมีภาษาถิ่นย่อย และภาษาอื่น ๆ อีกหลายตระกูลภาษา โดยรวม มีผู้ใช้ภาษาราว 74 ภาษาในประเทศไทย

สำหรับภาษาตระกูลไทนั้น ยังมีภาษาถิ่นย่อยหลัก ได้แก่ ภาษาไทยภาคกลาง ภาษาไทยถิ่นใต้ ภาษาไทยโคราช ไทยอีสาน และภาษาไทยภาคเหนือ หรือภาษาไทยล้านนา (คำเมือง) ขณะเดียวกันก็มีภาษาจีนอีกหลายถิ่นย่อย เช่น จีนแต้จิ๋ว จีนกลาง จีนแคะ ภาษาจีนกวางตุ้ง

[แก้] ภาษาที่พูดในประเทศไทย แยกตามตระกูลภาษา

  1. ตระกูลภาษาไท-กะได : 90 % หรือ 55,000,000 คน
  2. ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก : 3% หรือ 2,000,000 คน
  3. ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน : 2% หรือ 1,009,500 คน
  4. ภาษาตระกูลทิเบต-พม่า : 1% หรือ 533,500 คน
  5. ภาษาม้ง-เมี่ยน : 0.2% หรือ 100,000 คน

โดยรวม มีผู้ใช้ภาษาราว 74 ภาษาในประเทศไทย

[แก้] ภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้ภาษา

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น