ภาษาไทดำ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ภาษาไทดำ  
เสียงอ่าน: ไตด๋ำ
พูดใน: เวียดนาม ลาว ไทย
จำนวนผู้พูด: 699,000 คนในเวียดนาม
50,000 คนในลาว
700 คนในไทย[1]
ตระกูลภาษา: ไท-กะได
 คำ-ไท
  บี-ไท
   ไท-แสก
    ไท
     ไทตะวันตกเฉียงใต้
      ไทกลาง-ตะวันออก
       เชียงแสน
        ภาษาไทดำ 
ระบบการเขียน: อักษรไทดำ 
สถานะทางการ
ภาษาทางการใน: -
ผู้วางระเบียบ: -
รหัสภาษา
ISO 639-1: ไม่มี
ISO 639-2: tai
ISO 639-3: blt
Indic script
บทความนี้มีอักษรในตระกูลอักษรพราหมีปรากฏอยู่ คุณอาจเห็นสัญลักษณ์อื่นแทนตัวอักษร หรือมองเห็นสระวางผิดตำแหน่ง หากคอมพิวเตอร์ของคุณไม่สามารถแสดงผลได้อย่างถูกต้อง
สารานุกรมภาษา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมภาษา

ภาษาไทดำ (Tai Dam; ภาษาจีน:Dǎidānyǔ 傣担语) มีผู้พูดทั้งหมด 763,700 คน อยู่ในเวียดนาม 699,000 (พ.ศ. 2545) ทางภาคเหนือระหว่างแม่น้ำแดงและแม่น้ำดำ อยู่ในลาว 50,000 คน (พ.ศ. 2538) ในแขวงคำม่วน อยู่ในไทย 700 คน (พ.ศ. 2547) ในจังหวัดเลย อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2428 ลาวโซ่งก็คือคนไตดำกลุ่มแรกที่เข้ามาสู่ประเทศไทยในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี

มีผู้พูดภาษานี้ในออสเตรเลีย จีน ฝรั่งเศส ไทยและสหรัฐ อยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษากลุ่มคำ-ไต สาขาเบ-ไต สาขาย่อยไต-แสก อัตราการรู้หนังสือภาษาแม่ราว 1- 5% เป็นภาษาของชนกลุ่มน้อยที่สำคัญในเวียดนาม 

[แก้] อ้างอิง

  • Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: Tai Dam

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

Linguistics stub.svg ภาษาไทดำ เป็นบทความเกี่ยวกับ ภาษา หรือ ตัวอักษร ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหาหรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
ข้อมูลเกี่ยวกับ ภาษาไทดำ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ หรือ ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ภาษา
ภาษาอื่น