อาณาจักร (ชีววิทยา)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
The various levels of the scientific classification system.สปีชีส์สกุลวงศ์อันดับชั้นไฟลัมส่วนอาณาจักรโดเมนชีวิต
The various levels of the scientific classification system.

แปดลำดับขั้นสำคัญ ๆ ของการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ ในหนึ่งโดเมนประกอบด้วยหนึ่งอาณาจักรขึ้นไป ตามแผนภาพไม่ได้แสดงลำดับขั้นที่อยู่อื่น ๆ ที่อยู่ระหว่างนี้

ในชีววิทยา, อาณาจักร (kingdom) เป็นระดับหรือหมู่ที่ใหญ่เกือบที่สุดของสิ่งมีชีวิต ใช้ในการการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิตในโลก นักอนุกรมวิธานมีความเห็นในการจัดหมวดหมู่แตกต่างกันไป เช่น แบ่งออกเป็น 5 อาณาจักร 6 อาณาจักร หรือ 8 อาณาจักร (แคมป์เบลล์, 1996) ซึ่งระบบที่เป็นที่นิยมใช้ในอดีตและปัจจุบันระบบหนึ่งคือระบบ 5 อาณาจักร ส่วนอีกระบบที่เริ่มแพร่หลายและคาดว่าจะได้รับความนิยมต่อไป คือระบบ 6 อาณาจักร 3 โดเมน

Linnaeus
1735
2 kingdoms
Haeckel
1866[1]
3 kingdoms
Chatton
1937[2]
2 empires
Copeland
1956[3]
4 kingdoms
Whittaker
1969[4]
5 kingdoms
Woese et al.
1977[5]
6 kingdoms
Woese et al.
1990[6]
3 domains
(ไม่จัดอันดับ)  โพรทิสต์  โพรแคริโอต  มอเนอรา  มอเนอรา  ยูแบคทีเรีย  แบคทีเรีย
 อาร์คีแบคทีเรีย  อาร์เคีย
 ยูแคริโอต  โพรทิสตา  โพรทิสตา  โพรทิสตา  ยูแคเรีย
 พืช (Vegetabilia)  พืช  ฟังไจ  ฟังไจ
 พืช  พืช  พืช
 สัตว์  สัตว์ สัตว์ สัตว์ สัตว์

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. E. Haeckel (1866). Generelle Morphologie der Organismen. Reimer, Berlin.
  2. E. Chatton (1937). Titres et travaux scientifiques. Sette, Sottano, Italy.
  3. H. F. Copeland (1956). The Classification of Lower Organisms. Palo Alto: Pacific Books.
  4. R. H. Whittaker (1969). "New concepts of kingdoms of organisms". Science. 163: 150–160.
  5. C. R. Woese, W. E. Balch, L. J. Magrum, G. E. Fox and R. S. Wolfe (1977). "An ancient divergence among the bacteria". Journal of Molecular Evolution. 9: 305–311.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  6. Carl R. Woese, Otto Kandler, Mark L. Wheelis: "Towards a Natural System of Organisms: Proposal for the domains Archaea, Bacteria, and Eucarya", doi:10.1073/pnas.87.12.4576