จังหวัดบุรีรัมย์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดบุรีรัมย์
ตราประจำจังหวัดบุรีรัมย์ ตราผ้าพันคอลูกเสือ จังหวัดบุรีรัมย์
ตราประจำจังหวัด ตราผ้าผูกคอลูกเสือ
Cquote1.png เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ
ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม
Cquote2.png
ข้อมูลทั่วไป
ชื่ออักษรไทย บุรีรัมย์
ชื่ออักษรโรมัน Buri Ram
ผู้ว่าราชการ นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2552)
ISO 3166-2 TH-31
ต้นไม้ประจำจังหวัด กาฬพฤกษ์
ดอกไม้ประจำจังหวัด ฝ้ายคำ
ข้อมูลสถิติ
พื้นที่ 10,322.885 ตร.กม.[1]
(อันดับที่ 17)
ประชากร 1,546,784 คน[2] (พ.ศ. 2552)
(อันดับที่ 6)
ความหนาแน่น 149.84 คน/ตร.กม.
(อันดับที่ 26)
ศูนย์ราชการ
ที่ตั้ง ศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์ ถนนจิระ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ 31000
โทรศัพท์ (+66) 0 4461 1342
เว็บไซต์ จังหวัดบุรีรัมย์
แผนที่
 
แผนที่ประเทศไทย เน้นจังหวัดบุรีรัมย์

สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

บุรีรัมย์ เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดสุรินทร์ ทิศใต้ติดต่อกับจังหวัดสระแก้วและราชอาณาจักรกัมพูชา ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันออกติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์

เนื้อหา

[แก้] หน่วยการปกครอง

การปกครองแบ่งออกเป็น 23 อำเภอ 189 ตำบล 2212 หมู่บ้าน

  1. อำเภอเมืองบุรีรัมย์
  2. อำเภอคูเมือง
  3. อำเภอกระสัง
  4. อำเภอนางรอง
  5. อำเภอหนองกี่
  6. อำเภอละหานทราย
  7. อำเภอประโคนชัย
  8. อำเภอบ้านกรวด
  9. อำเภอพุทไธสง
  10. อำเภอลำปลายมาศ
  11. อำเภอสตึก
  12. อำเภอปะคำ
  1. อำเภอนาโพธิ์
  2. อำเภอหนองหงส์
  3. อำเภอพลับพลาชัย
  4. อำเภอห้วยราช
  5. อำเภอโนนสุวรรณ
  6. อำเภอชำนิ
  7. อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์
  8. อำเภอโนนดินแดง
  9. อำเภอบ้านด่าน
  10. อำเภอแคนดง
  11. อำเภอเฉลิมพระเกียรติ

[แก้] อุทยาน

[แก้] การศึกษา

โรงเรียน

ระดับอุดมศึกษา

          • ห้างสรรพสินค้า *****
  • แม็คโคร สาขาบุรีรัมย์
  • บิ๊กซี สาขาบุรีรัมย์
  • ห้างทวีกิจ
  • ห้างทวีกิจ พลาซ่า 2
  • ตลาดโลตัส สาขาลำปลายมาศ

[แก้] สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

  • สัญลักษณ์ประจำจังหวัด คือ รูปเทวดารำและปราสาทหิน เทวดารำหมายถึงดินแดนแห่งเทพเจ้าผู้สร้าง ผู้ปราบยุคเข็ญ และผู้ประสาทสุข ท่ารำ หมายถึงความสำราญชื่นชมยินดี ซึ่งตรงกับพยางค์สุดท้ายของชื่อจังหวัด ปราสาทหินคือปราสาทเขาพนมรุ้งซึ่งมีกำแพงล้อมรอบ ภายในท้องพระโรงมีเทวสถาน
  • ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกฝ้ายคำ (Cochlospermum regium)
  • ต้นไม้ประจำจังหวัด: กาฬพฤกษ์ (Cassia grandis)
  • คำขวัญประจำจังหวัด: เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม

[แก้] บุคคลที่มีชื่อเสียงจากจังหวัดบุรีรัมย์

นักมวย
นักแสดง
นักดนตรี
นักการเมือง
ครูบาช้าง

[แก้] อ้างอิง

  1. ^ ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ข้อมูลการปกครอง." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad76/jungwad76.htm [ม.ป.ป.]. สืบค้น 18 เมษายน 2553.
  2. ^ กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/stat/y_stat.html 2553. สืบค้น 30 มีนาคม 2553.

[แก้] ดูเพิ่ม

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

พิกัดภูมิศาสตร์: 15°00′N 103°07′E / 15°N 103.11°E / 15; 103.11