ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008
UEFA Euro 2008
Fußball-Europameisterschaft 2008
Championnat d'Europe de football 2008
Campionato europeo di calcio 2008
Campiunadi d'Europa da ballape 2008
UEFA Euro 2008 official logo
รายละเอียดการแข่งขัน
เจ้าภาพ ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย
ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์
วันที่แข่งขัน 7 มิถุนายน29 มิถุนายน
จำนวนทีม 16 (จาก 52 สมาคม)
จำนวนสนาม (ใน 8 เมือง)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัด 28
ประตู 68  (2.43 ต่อนัด)
ผู้ชม 998,672  (35,667 ต่อนัด)
ยิงประตูสูงสุด (4) - Flag of สเปน ดาวิด บิญ่า

การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 หรือรู้จักกันในชื่อ ยูโร 2008 (UEFA Euro 2008) เป็นการแข่งขันฟุตบอลยูโร ครั้งที่ 13 จัดขึ้นที่ประเทศออสเตรียและสวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 7-29 มิถุนายน พ.ศ.​2551 โดยทีมชาติกรีซเป็นแชมป์การแข่งขันก่อนหน้า การแข่งขันฟุตบอลยูโรครั้งนี้เป็นครั้งที่สองที่มีเจ้าภาพร่วม ถัดจาก ยูโร 2000 ซึ่งมีเบลเยียมและเนเธอร์แลนด์เป็นเจ้าภาพร่วม

ยูโร 2008 รอบสุดท้ายมีทีมเข้าแข่งขันทั้งหมด 16 ทีม โดยออสเตรียและสวิตเซอร์แลนด์ได้สิทธิ์เข้ารอบอัตโนมัติในฐานะเจ้าภาพ ส่วนอีก 14 ทีมจะคัดเลือกโดยเริ่มแข่งขันตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2549 ผู้ชนะของการแข่งขันคราวนี้จะได้สิทธิไปแข่งขันใน คอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2009 ที่จัดขึ้นที่ประเทศแอฟริกาใต้ ในปี พ.ศ. 2552 ซึ่งไม่เป็นการบังคับที่จะต้องเข้าร่วม[1][2]

เนื้อหา

[แก้] สนามแข่งขัน

ทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์จะเล่นรอบแบ่งกลุ่มที่เมืองบาเซิล ส่วนทีมชาติออสเตรียจะเล่นรอบแบ่งกลุ่มที่เวียนนา

เวียนนา คลาเกนฟูร์ท ซาลซ์บูร์ก อินสบรุค
Ernst Happel Stadion
ความจุ: 53,295
สนามเหย้า: ทีมชาติออสเตรีย
(FK ออสเตรีย Wien และ SK Rapid Wien)
Hypo-Arena
ความจุ: 31,957
สนามเหย้า: SK ออสเตรีย Kärnten
Wals Siezenheim Stadion
ความจุ: 31,020
สนามเหย้า: เรดบูลล์ซาลซ์เบิร์ก
Tivoli Neu
ความจุ: 31,600
สนามเหย้า: SK ออสเตรีย Kärnten
EHStadion040606w.jpg Hypo Group Arena - Westansicht.JPG Em stadion salzburg.jpg Umbau Tivoli Neu.JPG
Euro2008 venues th.svg
บาเซิล เบิร์น เจนีวา ซูริก
St. Jakob-Park
ความจุ: 42,000
สนามเหย้า: FC Basel
Stade de Suisse
ความจุ: 31,907
สนามเหย้า: BSC Young Boys
Stade de Genève
ความจุ: 31,228
สนามเหย้า: Servette FC
Letzigrund
ความจุ: 30,000
สนามเหย้า: FC Zürich
กราสฮอปเปอร์
St. Jakob-Park 2004-01-09.jpg Stadedesuisse-2.jpg CH-AL Geneva 2003-06-11.jpg Letzigrund 2007ii.jpg

[แก้] รอบคัดเลือก

[แก้] ทีมที่เข้ารอบ

ประเทศ เงื่อนไขการเข้ารอบ วันที่เข้ารอบ การเข้าแข่งขันครั้งก่อนๆ
ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย เจ้าภาพ 12 ธันวาคม 2002 ยังไม่เคยเข้าร่วมแข่งขัน
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ เจ้าภาพ 12 ธันวาคม 2002 2 (1996,2004)
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ กลุ่ม A 17 พฤศจิกายน 2007 ยังไม่เคยเข้าร่วมแข่งขัน
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส กลุ่ม A 22 พฤศจิกายน 2007 4 (1984,1996,2000,2004)
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส กลุ่ม B 17 พฤศจิกายน 2007 6 (1960,1984,1992,1996,2000,2004)
ธงชาติอิตาลี อิตาลี กลุ่ม B 17 พฤศจิกายน 2007 6 (1968,1980,1988,1996,2000,2004)
ธงชาติกรีซ กรีซ กลุ่ม C 17 ตุลาคม 2007 2 (1980,2004)
ธงชาติตุรกี ตุรกี กลุ่ม C 22 พฤศจิกายน 2007 2 (1996,2000)
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี กลุ่ม D 13 ตุลาคม 2007 9 (19721,19761,19801,19841,19881,1992,1996,2000,2004)
Flag of the Czech Republic สาธารณรัฐเช็ก กลุ่ม D 17 ตุลาคม 2007 6 (19602,19762,19802,1996,2000,2004)
ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย กลุ่ม E 17 พฤศจิกายน 2007 2 (1996,2004)
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย กลุ่ม E 22 พฤศจิกายน 2007 8 (19603,19643,19683,19723,19883,19924,1996,2004)
ธงชาติสเปน สเปน กลุ่ม F 17 พฤศจิกายน 2007 7 (1964,1980,1984,1988,1996,2000,2004)
ธงชาติสวีเดน สวีเดน กลุ่ม F 22 พฤศจิกายน 2007 3 (1992,2000,2004)
ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย กลุ่ม G 17 ตุลาคม 2007 3 (1984,1996,2000)
Flag of the Netherlands เนเธอร์แลนด์ กลุ่ม G 17 พฤศจิกายน 2007 7 (1976,1980,1988,1992,1996,2000,2004)
1 ในฐานะเยอรมนีตะวันตก
2 ในฐานะเชคโกสโลวาเกีย
3 ในฐานะสหภาพโซเวียต
4 ในฐานะเครือรัฐเอกราช (CIS)
  • ตัวหนาหมายถึงชนะเลิศการแข่งขันครั้งนั้นด้วย


[แก้] ผลการแข่งขัน

[แก้] รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้] กลุ่ม A

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 3 2 0 1 5 3 +2 6
ธงชาติตุรกี ตุรกี 3 2 0 1 5 5 0 6
Flag of the Czech Republic สาธารณรัฐเช็ก 3 1 0 2 4 6 −2 3
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 3 1 0 2 3 3 0 3
width=25%
7 มิถุนายน 2551
สวิตเซอร์แลนด์ ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ 0 – 1 Flag of the Czech Republic สาธารณรัฐเช็ก
โปรตุเกส ธงชาติโปรตุเกส 2 – 0 ธงชาติตุรกี ตุรกี
11 มิถุนายน 2551
สาธารณรัฐเช็ก Flag of the Czech Republic 1 – 3 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส
สวิตเซอร์แลนด์ ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ 1 – 2 ธงชาติตุรกี ตุรกี
15 มิถุนายน 2551
สวิตเซอร์แลนด์ ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ 2 – 0 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส
ตุรกี ธงชาติตุรกี 3 – 2 Flag of the Czech Republic สาธารณรัฐเช็ก
หมายเหตุเกี่ยวกับการที่แต้มเสมอกัน
  • โปรตุเกสและตุรกีถูกจัดอันดับตามผลการแข่งขันของนัดที่ทั้งสองทีมแข่งกัน (head-to-head)
  • สาธารณรัฐเช็กและสวิตเซอร์แลนด์ถูกจัดอันดับตามผลการแข่งขันของนัดที่ทั้งสองทีมแข่งกัน

[แก้] กลุ่ม B

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 กลุ่ม B

width=25%
8 มิถุนายน 2551
ออสเตรีย ธงชาติออสเตรีย 0 – 1 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย
เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี 2 – 0 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์
12 มิถุนายน 2551
โครเอเชีย ธงชาติโครเอเชีย 2 – 1 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ออสเตรีย ธงชาติออสเตรีย 1 – 1 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์
16 มิถุนายน 2551
โปแลนด์ ธงชาติโปแลนด์ 0 – 1 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย
ออสเตรีย ธงชาติออสเตรีย 0 – 1 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
หมายเหตุเกี่ยวกับการที่แต้มเสมอกัน
  • ออสเตรียและโปแลนด์ถูกจัดอันดับตามผลต่างประตูได้เสียเนื่องจากผลการแข่งขันของนัดที่ทั้งสองทีมแข่งกันนั้นเสมอกัน

[แก้] กลุ่ม C

นัดการแข่งขันระหว่างอิตาลีและเนเธอร์แลนด์

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 กลุ่ม C

width=25%
9 มิถุนายน 2551
โรมาเนีย ธงชาติโรมาเนีย 0 – 0 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
เนเธอร์แลนด์ Flag of the Netherlands 3 – 0 ธงชาติอิตาลี อิตาลี
13 มิถุนายน 2551
อิตาลี ธงชาติอิตาลี 1 – 1 ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย
เนเธอร์แลนด์ Flag of the Netherlands 4 – 1 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
17 มิถุนายน 2551
เนเธอร์แลนด์ Flag of the Netherlands 2 – 0 ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย
ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส 0 – 2 ธงชาติอิตาลี อิตาลี

[แก้] กลุ่ม D

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 กลุ่ม D

width=25%
10 มิถุนายน 2551
สเปน ธงชาติสเปน 4 – 1 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
กรีซ ธงชาติกรีซ 0 – 2 ธงชาติสวีเดน สวีเดน
14 มิถุนายน 2551
สวีเดน ธงชาติสวีเดน 1 – 2 ธงชาติสเปน สเปน
กรีซ ธงชาติกรีซ 0 – 1 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
18 มิถุนายน 2551
กรีซ ธงชาติกรีซ 1 – 2 ธงชาติสเปน สเปน
รัสเซีย ธงชาติรัสเซีย 2 – 0 ธงชาติสวีเดน สวีเดน

[แก้] รอบน็อกเอาต์

รอบน็อกเอาต์ในการแข่งขันครั้งนี้ แตกต่างจากครั้งที่ผ่านๆ มา โดยทีมในกลุ่ม A และ B จะถูกแยกจากทีมกลุ่ม C และ D จนกว่าจะถึงรอบชิงชนะเลิศ ซึ่งทำให้โอกาสที่สองทีมจากกลุ่มเดียวกันจะได้พบกันอีกครั้งในรอบน็อกเอาต์ และเป็นไปไม่ได้ที่จะมีนัดชิงชนะเลิศจากสองทีมจากฝั่งเดียวกัน (A-B และ C-D) นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงหลักอีกอย่างหนึ่ง สำหรับการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป คือมีเพียงสองสนามเท่านั้น ที่จะใช้ในการแข่งขันรอบน็อกเอาต์ทั้งเจ็ดนัด คือซังคต์ยาคอบพาร์คที่บาเซิล และสนามกีฬาแอนสท์ฮัพเพลที่เวียนนา[3]

รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
19 มิถุนายน - บาเซิล        
 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส  2
25 มิถุนายน - บาเซิล
 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  3  
 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  3
20 มิถุนายน - เวียนนา
   ธงชาติตุรกี ตุรกี  2  
 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย  1 (1)
29 มิถุนายน - เวียนนา
 ธงชาติตุรกี ตุรกี (จุดโทษ)  1 (3)  
 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  0
21 มิถุนายน - บาเซิล
   ธงชาติสเปน สเปน  1
 Flag of the Netherlands เนเธอร์แลนด์  1
26 มิถุนายน - เวียนนา
 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย (ต่อเวลา)  3  
 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย  0
22 มิถุนายน - เวียนนา
   ธงชาติสเปน สเปน  3  
 ธงชาติสเปน สเปน (จุดโทษ)  0 (4)
 ธงชาติอิตาลี อิตาลี  0 (2)  

[แก้] สถิติ

[แก้] ผู้ทำประตู

4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
2 ประตู (ต่อ)
1 ประตู
1 ประตู (ต่อ)

[แก้] อ้างอิง

  1. ^ 2005/2006 season: final worldwide matchday to be 14 May 2006. FIFA.com (19 December 2004). สืบค้นวันที่ 2008-06-14
  2. ^ ถ้าทีมชาติอิตาลีชนะการแข่งขัน ทีมรองชนะเลิศจะเข้าร่วมการแข่งขันคอนเฟเดอเรชันส์คัพแทน เนื่องจากทีมอิตาลีผ่านในฐานะผู้ชนะเลิศฟุตบอลโลก 2006
  3. ^ "Euro-Format means group rivals cannot meet again in final", Yahoo! Sports, 2008-06-03. สืบค้นวันที่ 2008-06-03

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

Commons