ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก สโมสรโลก)
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก
Trofeu SPFC - Mundial2005 01.jpg
ถ้วยโทรฟี่ ถ้วยสำหรับทีมชนะเลิศ
ก่อตั้ง 2000 (แชมป์เปี้ยนชิพ)
2005
ภูมิภาค นานาชาติ (ฟีฟ่า)
จำนวนทีม 7 ทีม
ทีมชนะล่าสุด บราซิล โครินเธี่ยนส์ (2 ครั้ง)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด สเปน บาร์เซโลน่า (2 ครั้ง)
เว็บไซต์ Club World Cup
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2013

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกหรือ ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมสโมสรของแต่ละสมาพันธ์ฟุตบอลจาก 6 ทวีปทั่วโลก เริ่มทำการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 2000 ที่ประเทศบราซิล โดยทางฟีฟ่าได้จัดตั้งการแข่งขันรายการนี้ขึ้น เพื่อใช้แทนการแข่งขันรายการเดิมที่ชื่อ อินเตอร์คอนติเนนตัล คัพ หรือ โตโยต้า คัพ โดยที่ทีมแชมป์ยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ ลีก จากยุโรป และ โคปา ลิเบอตาดอเรส จากอเมริกาใต้ จะเข้าไปรอแข่งขันในรอบรองชนะเลิศ ในขณะที่ทีมที่เหลือจาก 4 ทวีปจะแข่งขันในรอบก่อนรองชนะเลิศ

ประวัติ[แก้]

ทำเนียบทีมชนะเลิศ[แก้]

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก (โดยฟีฟ่า)หรือ ฟีฟ่า คลับ เวิลด์ คัพ

ปี แชมป์ สกอร์ รองแชมป์ สนาม
2555
รายละเอียด
บราซิล โครินเธี่ยนส์ 1 - 0 อังกฤษ เชลซี อินเตอร์เนชั่นแนล สเตเดี้ยม,
โยะโกะฮะมะ ญี่ปุ่น
2554
รายละเอียด
สเปน บาร์เซโลน่า 4 - 0 บราซิล ซานโต๊ส อินเตอร์เนชั่นแนล สเตเดี้ยม,
โยะโกะฮะมะ ญี่ปุ่น
2553
รายละเอียด
อิตาลี อินเตอร์ 3 - 0 สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก มาเซมเบ้ ชีค ซาเยด สเตเดี้ยม,
อาบู ดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2552
รายละเอียด
สเปน บาร์เซโลน่า 2 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
อาร์เจนตินา เอสตูเดียนเตส ชีค ซาเยด สเตเดี้ยม,
อาบู ดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2551
รายละเอียด
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด 1 - 0 เอกวาดอร์ แอลดียู กีโต้ อินเตอร์เนชั่นแนล สเตเดี้ยม,
โยะโกะฮะมะ ญี่ปุ่น
2550
รายละเอียด
อิตาลี มิลาน 4 - 2 อาร์เจนตินา โบค่า อินเตอร์เนชั่นแนล สเตเดี้ยม,
โยะโกะฮะมะ ญี่ปุ่น
2549
รายละเอียด
บราซิล อินเตอร์นาซิอองนาล 1 - 0 สเปน บาร์เซโลน่า อินเตอร์เนชั่นแนล สเตเดี้ยม,
โยะโกะฮะมะ ญี่ปุ่น
2548
รายละเอียด
บราซิล เซา เปาโล 1 - 0 อังกฤษ ลิเวอร์พูล อินเตอร์เนชั่นแนล สเตเดี้ยม,
โยะโกะฮะมะ ญี่ปุ่น
2543
รายละเอียด
บราซิล โครินเธี่ยนส์ 0 - 0
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
4 - 3
(ดวลจุดโทษ)
บราซิล วาสโก ดา กาม่า มาราคาน่า,
ริโอ เด จาไนโร บราซิล

ทำเนียบทีมชนะเลิศ[แก้]

ชนะเลิศ-แยกตามทีม[แก้]

ทีม ชนะเลิศ ปีที่ได้ชนะเลิศ
สเปน บาร์เซโลนา 2 2009, 2011
บราซิล โครินเธี่ยนส์ 2 2000, 2012
บราซิล เซา เปาโล 1 2005
บราซิล อินเตอร์นาซิอองนาล 1 2006
อิตาลี มิลาน 1 2007
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด 1 2008
อิตาลี อินเตอร์ 1 2010

ชนะเลิศ-แยกตามชาติ[แก้]

ชาติ จำนวนทีมที่ได้ชนะเลิศ จำนวนชนะเลิศ ปีที่ได้ชนะเลิศ
บราซิล บราซิล 3 4 (2000, 2005, 2006, 2012)
อิตาลี อิตาลี 2 2 (2007, 2010)
สเปน สเปน 1 2 (2009, 2011)
อังกฤษ อังกฤษ 1 1 (2008)

ชนะเลิศ-แยกตามสมาพันธ์ฟุตบอล[แก้]

สมาพันธ์ฟุตบอล ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่ 3
ยูฟ่า 5 (2007, 2008, 2009, 2010, 2011) 3 (2005, 2006, 2012) 0
คอนเมโบล 4 (2000, 2005, 2006, 2012) 5 (2000, 2007, 2008, 2009, 2011) 1 (2010)
ซีเอเอฟ 0 1 (2010) 1 (2006)
เอเอฟซี 0 0 4 (2007, 2008, 2009, 2011)
คอนคาเคฟ 0 0 2 (2000, 2005)
โอเอฟซี 0 0 0

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]