ฟุตบอลทีมชาติญี่ปุ่น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ทีมชาติญี่ปุ่น
Shirt badge/Association crest
ฉายา ซามูไรสีน้ำเงิน
(ญี่ปุ่น: Japanese Representatives (of soccer) (サッカー)日本代表 (Sakkā) Nippon Daihyō ?)
(ญี่ปุ่น: Okada Japan 岡田ジャパン Okada Japan ?)[1]
สมาคม สมาคมฟุตบอลญี่ปุ่น
สมาพันธ์ เอเอฟซี (ทวีปเอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอน Flag of ญี่ปุ่น Takeshi Okada
กัปตัน Yuji Nakazawa
ติดทีมชาติสูงสุด Masami Ihara (123)
ทำประตูสูงสุด Kunishige Kamamoto (75)
รหัสฟีฟ่า JPN
อันดับฟีฟ่า 40
อันดับฟีฟ่าสูงสุด 9 (กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541)
อันดับฟีฟ่าต่ำสุด 62 (กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543)
อันดับอีแอลโอ 17
อันดับอีแอลโอสูงสุด 8 (สิงหาคม พ.ศ. 2544, มีนาคม พ.ศ. 2545)
อันดับอีแอลโอต่ำสุด 112 (กันยายน พ.ศ. 2505)
ทีมเหย้า สี
ทีมเยือน สี
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
Flag of ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 0 - 5 สาธารณรัฐจีน Flag of the Republic of China
(โตเกียว, ญี่ปุ่น; 9 พฤษภาคม, พ.ศ. 2460)
ชนะสูงสุด
Flag of ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 15 - 0 ฟิลิปปินส์ Flag of the Philippines
(โตเกียว, ญี่ปุ่น; 27 กันยายน, พ.ศ. 2510)
แพ้สูงสุด
Flag of ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 2 - 15 ฟิลิปปินส์ Flag of the Philippines
(โตเกียว, ญี่ปุ่น; 10 พฤษภาคม, พ.ศ. 2460)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม 4 (ครั้งแรกเมื่อ 1998)
ผลงานดีที่สุด รอบ 16 ทีม, พ.ศ. 2545
เอเอฟซี เอเชียนคัพ
เข้าร่วม 6 (ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2531)
ผลงานดีที่สุด ชนะเลิศ, พ.ศ. 2535, พ.ศ. 2543, พ.ศ. 2547
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ
เข้าร่วม 4 (ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2538)
ผลงานดีที่สุด รองชนะเลิศ, พ.ศ. 2544
สถิติเหรียญรางวัลโอลิมปิค
ฟุตบอลทีมชาย
ทองแดง เม็กซิโกซิตี 1968 ทีม

ฟุตบอลทีมชาติญี่ปุ่น เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศญี่ปุ่น ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลญี่ปุ่น ในปัจจุบันเป็นหนึ่งในทีมที่มีอันดับสูงในเอเชีย รู้จักในชื่อ นิปปอนไดเฮียว (ญี่ปุ่น: 日本代表 NiPPon Daihyo ตัวแทนชาวญี่ปุ่น ?)

ญี่ปุ่นมีผลงานในระดับโลก คือ ได้เข้ารอบสูงสุด รอบ 2 ใน ฟุตบอลโลก 2002 ส่วนในระดับเอเชีย ชนะเลิศ เอเชียนคัพ 3 ครั้ง

เนื้อหา

[แก้] ผลงาน

[แก้] ฟุตบอลโลก

  • 1930-1934 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1938 - ถอนตัว
  • 1950 - ถูกห้ามเข้าร่วม
  • 1954 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1958 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1962 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1966 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1970-1994 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1998 - รอบแรก
  • 2002 - รอบสอง
  • 2006 - รอบแรก

[แก้] เอเชียนคัพ

  • 1956-1964 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1968 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1972 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1976 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1980-1984 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1988 - รอบแรก
  • 1992 - ชนะเลิศ
  • 1996 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
  • 2000 - ชนะเลิศ
  • 2004 - ชนะเลิศ
  • 2007 - อันดับสี่

[แก้] อีสต์เอเชียนคัพ

  • 2003 - อันดับสอง
  • 2005 - อันดับสอง

[แก้] นักเตะทำประตูสูงสุดให้ทีมชาติญี่ปุ่น

  1. คุนิชิเกะ คะนะโมะโตะ - 73
  2. คะซึโยะชิ มิอุระ - 56
  3. ทะคุยะ ทะคะงิ - 28
  4. ฮิโระมิ ฮะระ - 24
  5. มะซะชิ นะกะยะมะ - 21

[แก้] ผู้เล่นคนสำคัญ

รายชื่อเรียงตามนามสกุล

[แก้] อ้างอิง

  1. ^ A common methodology of nickname creation is done by taking the last name of incumbent head coach followed by "Japan". Past teams have been referred to as, (ญี่ปุ่น: "Osim Japan" オシムジャパン Oshimu Japan ?), (ญี่ปุ่น: "Zico Japan" ジーコジャパン Jīko Japan ?), (ญี่ปุ่น: "Troussier Japan" トルシエジャパン Torushie Japan ?).