ฟุตบอลทีมชาติปาเลสไตน์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

Palestine
Shirt badge/Association crest
ฉายา Al-Fursan (The Knights)
สมาคม สหพันธ์ฟุตบอลปาเลสไตน์
สมาพันธ์ เอเอฟซี (ทวีปเอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอน Mousa Bezaz
ติดทีมชาติสูงสุด Saeb Jendeya (70)
ทำประตูสูงสุด Ziyad Al-Kord (15)
สนามเหย้า Faisal Al-Husseini International Stadium, Al-Ram
รหัสฟีฟ่า PLE
อันดับฟีฟ่า 173
อันดับฟีฟ่าสูงสุด 115 (เมษายน พ.ศ. 2549)
อันดับฟีฟ่าต่ำสุด 191 (เมษายน พ.ศ. 2542)
อันดับอีแอลโอ 151
ทีมเหย้า สี
ทีมเยือน สี
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
Flag of อียิปต์ อียิปต์ 8–1 ปาเลสไตน์ Palestinian flag
(อียิปต์; 26 กรกฎาคม, พ.ศ. 2496)
ชนะสูงสุด
Palestinian flag ปาเลสไตน์ 11–0 กวม Flag of กวม
(ธากา, บังกลาเทศ; 1 เมษายน, พ.ศ. 2549)
แพ้สูงสุด
Flag of อียิปต์ อียิปต์ 8–1 ปาเลสไตน์ Palestinian flag
(อียิปต์; 26 กรกฎาคม, พ.ศ. 2496)


ฟุตบอลทีมชาติปาเลสไตน์ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากชาติปาเลสไตน์ อยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลปาเลสไตน์ เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) และร่วมกับฟีฟ่าในปี พ.ศ. 2541 ภายหลังจากได้มีการก่อตั้งรัฐบาลปาเลสไตน์ขึ้น

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาทีมชาติปาเลสไตน์ไม่มีการแข่งในบ้าน เนื่องจากปัญหาความขัดแย้งและสงคราม ในบริเวณเวสต์แบงก์และฉนวนกาซา ซึ่งการแข่งครั้งทั้งหมดจะแข่งในประเทศกาตาร์และประเทศอียิปต์ นอกจากนี้ปัญหาในทีมชาติปาเลสไตน์ที่เกิดขึ้นได้แก่ การห้ามเดินทางออกนอกประเทศของประชาชนปาเลสไตน์ ที่เกิดจากความขัดแย้งกับอิสราเอล รวมถึงการขอวีซ่าในการเข้าประเทศจากทางรัฐบาล

ในปี 2549 ได้มีภาพยนตร์ชื่อ โกลดรีมส์ (Goal Dreams) ถูกสร้างขึ้นเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับทีมชาติปาเลสไตน์ที่พยายามจะผ่านรอบคัดเลือก ฟุตบอลโลก 2006 และภาพยนตร์เรื่องนี้ได้ถูกนำมาออกอากาศเป็นสารคดีในช่องสถานีบีบีซี

เนื้อหา

[แก้] ผลงาน

[แก้] ฟุตบอลโลก

  • 1930-1998 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 2002-2006 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก

[แก้] เอเชียนคัพ

  • 1956-1996 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 2000-2007 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก

[แก้] เวสต์เอเชียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ

  • 2000-2004 - รอบแรก
  • 2006 - ???

[แก้] เอเอฟซีแชลเลนจ์คัพ

  • 2006 - รอบแปดทีมสุดท้าย

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น