ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ทีมชาติมาเลเซีย
Shirt badge/Association crest
ฉายา Harimau Malaya (Malayan Tiger)
สมาคม สมาคมฟุตบอลมาเลเซีย
สมาพันธ์ เอเอฟซี (ทวีปเอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอน K. Rajagopal
กัปตัน Norhafiz Zamani Misbah
ติดทีมชาติสูงสุด Soh Chin Aun (252)
ทำประตูสูงสุด Mokhtar Dahari (125)
สนามเหย้า National Stadium, Bukit Jalil (Kuala Lumpur)
รหัสฟีฟ่า MAS
อันดับฟีฟ่า 159
อันดับฟีฟ่าสูงสุด 75 (สิงหาคม พ.ศ. 2536)
อันดับฟีฟ่าต่ำสุด 170 (เมษายน พ.ศ. 2551)
อันดับอีแอลโอ 164
ทีมเหย้า สี
ทีมเยือน สี
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
Flag of เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 - 2 มาลายา Flag of Malaya.svg
(สิงคโปร์; 13 เมษายน, พ.ศ. 2496)
ชนะสูงสุด
Flag of Malaya.svg มาลายา 15 - 1 ฟิลิปปินส์Flag of the Philippines
(จาการ์ตา, อินโดนีเซีย; 27 สิงหาคม, พ.ศ. 2505)
แพ้สูงสุด
Flag of มาเลเซีย มาเลเซีย 2 - 8 นิวซีแลนด์ Flag of นิวซีแลนด์
(Kuala Lumpur, มาเลเซีย; 16 พฤศจิกายน, พ.ศ. 2510)
Flag of มาเลเซีย มาเลเซีย 1 - 7 จีน Flag of the People's Republic of China
(กรุงเทพ, ไทย; 20 ธันวาคม, พ.ศ. 2521)
เอเอฟซี เอเชียนคัพ
เข้าร่วม 3 (ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2519)
ผลงานดีที่สุด รอบแรก, พ.ศ. 2519, พ.ศ. 2523 และ พ.ศ. 2550


ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศมาเลเซียภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลมาเลเซีย ผลงานในระดับโลกของทีมชาติมาเลเซียนั้น ยังไม่เคยได้ร่วมในฟุตบอลโลก แต่ทีมชาติมาเลเซียได้เข้าร่วมโอลิมปิก ที่มิวนิก ใน โอลิมปิก 1972 ส่วนในระดับเอเชียนั้น ทีมชาติมาเลเซียได้ร่วมเล่นในเอเชียนคัพโดยอันดับสูงสุดคือรอบแรกการแข่งเอเชียนคัพ และในระดับอาเซียน ทีมชาติมาเลเซีย ได้อันดับสูงสุดคือรองชนะเลิศ ไทเกอร์คัพ

เนื้อหา

[แก้] ผลงาน

[แก้] ฟุตบอลโลก

  • 1930-1970 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1974-2006 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก

[แก้] เอเชียนคัพ

  • 1956-1972 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1976 และ 1980 - รอบแรก
  • 1984-2004 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 2007 - รอบแรก

[แก้] อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ

  • 1996 - รองชนะเลิศ
  • 1998 - รอบแบ่งสาย
  • 2000 - อันดับสาม
  • 2002 - อันดับสี่
  • 2004 - อันดับสาม
  • 2007 - รอบรองชนะเลิศ