สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สำหรับความหมายอื่นของ เอเอฟซี ดูที่ เอเอฟซี (แก้ความกำกวม)
สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย

สมาชิก AFC
คำขวัญ "The Future is Asia (อนาคตคือเอเชีย)"
ก่อตั้ง 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2497
ประเภท สมาพันธ์กีฬา
สำนักงานใหญ่ กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย
สมาชิกสภาพ 46 สมาคมสมาชิก (จาก 4 สหพันธ์ภูมิภาค)
ประธาน Mohammed Bin Hammam
เว็บไซต์ www.the-afc.com

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (Asian Football Confederation) หรือ เอเอฟซี (AFC) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชีย จัดการเกี่ยวกับทีมฟุตบอล เงินรางวัล กฎระเบียบ รวมถึงลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดฟุตบอล เอเอฟซีเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า

เอเอฟซีก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2497 ที่ มะนิลา ในประเทศฟิลิปปินส์ ปัจจุบันสำนักงานใหญ่ย้ายมาอยู่ที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย

เนื้อหา

[แก้] ภูมิภาค

เอเอฟซี ประกอบด้วย 4 ภูมิภาค[1] ดังแสดงข้างล่างBelow shows how the national teams of Asia are split up by region (but are not necessarily part of their regional football federation). As a rule, because of cultural restrictions, only the ASEAN and East Asian regions field equivalent women's teams.

[แก้] สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน

ดูบทความหลักที่ สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน

[แก้] สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันออก

[แก้] สหพันธ์ฟุตบอลสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก

[แก้] สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียกลางและเอเชียใต้

AFC & SAFF Members

สมาชิก AFC & CAFF

[แก้] การแข่งขัน

[แก้] การแข่งขันระดับเอเอฟซี

[แก้] การแข่งขันระดับภูมิภาค

[แก้] ระดับลีกประเทศสมาชิกเอเอฟซี

อันดับ ลีกระดับชาติ ระดับ
1 Flag of ญี่ปุ่น เจลีก ระดับ A
2 Flag of เกาหลีใต้ เค-ลีก ระดับ A
3 Flag of the People's Republic of China ไชนิสซูเปอร์ลีก ระดับ B
4 Flag of ซาอุดีอาระเบีย ซาอุดิโปรเฟสชันแนลลีก ระดับ B
5 Flag of the United Arab Emirates ยูเออีฟุตบอลลีก ระดับ B
6 Flag of ออสเตรเลีย เอ-ลีก ระดับ B
7 Flag of อิหร่าน อิหร่านโปรลีก ระดับ B
8 Flag of อินโดนีเซีย อินโดนีเซียนซูเปอร์ลีก ระดับ B
9 Flag of สิงคโปร์ เอสลีก ระดับ B
10 Flag of อุซเบกิสถาน อุซเบลีก ระดับ C
11 Flag of กาตาร์ กาตาร์สตาร์ลีก ระดับ C
12 Flag of ไทย ไทยพรีเมียร์ลีก ระดับ C
13 Flag of เวียดนาม วี-ลีก ระดับ C
14 Flag of อินเดีย ไอ-ลีก ระดับ C
15 Flag of ปากีสถาน ปากีสถานพรีเมียร์ลีก ระดับ C
16 Flag of ซีเรีย ซีเรียนพรีเมียร์ลีก ระดับ C
17 Flag of จอร์แดน จอร์แดนลีก ระดับ D
18 Flag of คูเวต คูเวติพรีเมียร์ลีก ระดับ D
19 Flag of มาเลเซีย มาเลเซียซูเปอร์ลีก ระดับ D
20 Flag of ฮ่องกง ฮ่องกงเฟิร์สดิวิชันลีก ระดับ D
21 Flag of โอมาน โอมานิลีก ระดับ D
22 Flag of บาห์เรน บาเรนิพรีเมียร์ลีก ระดับ D
23 Flag of เติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถานไฮเกอร์ลีก ระดับ D
เอเชียตะวันออก
เอเชียตะวันตก

[แก้] ทีมที่ผ่านเข้ารอบโอลิมปิคฤดูร้อน

(Note: สามารถนำไปปรับใช้ได้, จำนวนแสดงถึงจำนวนทีมในประเทศ)

[แก้] ทีมชาย

Nation Flag of ฝรั่งเศส
1900
Flag of the United States
1904
Flag of the United Kingdom
1908
Flag of สวีเดน
1912
Flag of เบลเยียม
1920
Flag of ฝรั่งเศส
1924
Flag of the Netherlands
1928
Flag of เยอรมนี
1936
Flag of the United Kingdom
1948
Flag of ฟินแลนด์
1952
Flag of ออสเตรเลีย
1956
Flag of อิตาลี
1960
Flag of ญี่ปุ่น
1964
Flag of เม็กซิโก
1968
Flag of เยอรมนี
1972
Flag of แคนาดา
1976
Flag of the Soviet Union
1980
Flag of the United States
1984
Flag of เกาหลีใต้
1988
Flag of สเปน
1992
Flag of the United States
1996
Flag of ออสเตรเลีย
2000
Flag of กรีซ
2004
Flag of the People's Republic of China
2008
Flag of the United Kingdom
2012
Total
ญี่ปุ่น 8
เกาหลีใต้ 8
ออสเตรเลีย 7
อินเดีย 4
อิรัก 4
จีนไทเป 3
อิหร่าน 3
คูเวต 3
จีน 2
อิสราเอล 2
กาตาร์ 2
ซาอุดีอาระเบีย 2
ไทย 2
อัฟกานิสถาน 1
เบอร์มา 1
อินโดนีเซีย 1
มาเลเซีย 1
เกาหลีเหนือ 1
ซีเรีย 1
Total 0 0 0 0 0 0 0 2 4 1 5 2 3 3 3 3 3 3 4 4 4 4 4 4 56

[แก้] ทีมหญิง

Nation Flag of the United States
1996
Flag of ออสเตรเลีย
2000
Flag of กรีซ
2004
Flag of the People's Republic of China
2008
Flag of the United Kingdom
2012
Total
จีน 4
ญี่ปุ่น 3
เกาหลีเหนือ 1
Total 2 1 2 3 8

[แก้] ทีมที่ผ่านเข้ารอบฟุตบอลโลก

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนเอเอฟซีที่เข้าแข่งขันฟุตบอลโลก เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Team Flag of อุรุกวัย
1930
Flag of อิตาลี
1934
Flag of ฝรั่งเศส
1938
Flag of บราซิล
1950
Flag of สวิตเซอร์แลนด์
1954
Flag of สวีเดน
1958
Flag of ชิลี
1962
Flag of อังกฤษ
1966
Flag of เม็กซิโก
1970
Flag of เยอรมนีตะวันตก
1974
Flag of อาร์เจนตินา
1978
Flag of สเปน
1982
Flag of เม็กซิโก
1986
Flag of อิตาลี
1990
Flag of the United States
1994
Flag of ฝรั่งเศส
1998
Flag of เกาหลีใต้Flag of ญี่ปุ่น
2002
Flag of เยอรมนี
2006
Flag of สาธารณรัฐแอฟริกาใต้
2010
Flag of บราซิล
2014
Total
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ R1 R1 R1 R1 R1 4th R1 8
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น R1 R2 R1 4
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย R2 R1 R1 R1 4
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน R1 R1 R1 3
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย1 R1 R2 3
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ QF 2
Flag of the People's Republic of China จีน R1 1
ธงชาติอินเดีย อินเดีย 1
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย R1 1
ธงชาติอิรัก อิรัก R1 1
ธงชาติคูเวต คูเวต R1 1
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ R1 1
ธงชาติอิสราเอล อิสราเอล2 R1 1
Total 0 0 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 2 2 2 4 4 5 4 30

   — เจ้าภาพ

1ออสเตรเลียเข้ารอบฟุตบอลโลก 2006 ตอนเป็นสมาชิก the Oceania Football Confederation (OFC). จาก 1972 ถึง 1978 ไม่ได้เป็นสมาชิกสมาพันธ์ใดๆ

2อิสราเอลปัจจุบันเป็นสมาชิกยูฟ่า

[แก้] ยอดรวม (สมาชิกปัจจุบัน)

[แก้] อ้างอิง

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) เอเอฟซี
ทีมชาติ ทีมสโมสร

เอเชียนคัพ
เอเอฟซีแชลเลนจ์คัพ
ฟุตบอลเอเชียเยาวชน ยู 20
ฟุตบอลเอเชียเยาวชน ยู 17
ฟุตบอลเอเชียเยาวชน ยู 14
ฟุตซอลแชมเปียนชิพ

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก
เอเอฟซีคัพ
เพรซิเดนต์คัพ
คัพวินเนอร์คัพ (ยกเลิก)