ภาษาเอา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ภาษาเอา
พูดใน: อินเดีย 
ภูมิภาค: รัฐนาคาแลนด์
จำนวนผู้พูด: 141,000 คน
ตระกูลภาษา: ซีโน-ทิเบตาน
 ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า
  ภาษากลุ่มกูกี-ฉิ่น-นาคา
   ภาษาเอา
รหัสภาษา
ISO 639-1: ไม่มี
ISO 639-2: sit
ISO 639-3: njo
สารานุกรมภาษา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมภาษา

ภาษาเอา เป็นภาษากูกี-ฉิ่น-นาคา ที่อยู่ในภาษากลุ่มทิเบต-พม่า พูดโดยชาวเอาในรัฐนาคาแลนด์ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย มีผู้พูดราว 141,000 คน (Gordon, 2005) สำเนียงที่สำคัญมี 2 สำเนียงคือ

  • สำเนียง ชุงลี แบ่งได้อีก 2 สำเนียงคือ ชุงลี และทรานส์-คิขุ
  • สำเนียงมอกเซน แบ่งได้อีก 2 สำเนียงคือ มอกเซน และชังกี
ตำแหน่งรัฐนาคาแลนด์ แสดงด้วยสีเข้ม

ผู้พูดสำเนียงชังกี มี 60 % ของชาวเอาทั้งหมด เป็นสำเนียงที่ได้รับอิทธิพลจากมิชชันนารี สำเนียงชุงลีเป็นสำเนียงที่มีการสอนในโรงเรียน สำเนียงมอกเซนใช้พูดส่วนใหญ่ทางตะวันตกของเขตเอาและใกล้เคียงกับสำเนียงชังกี การพูดในแต่ละหมู่บ้านจะมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกัน

[แก้] อ้างอิง

Linguistics stub.svg ภาษาเอา เป็นบทความเกี่ยวกับ ภาษา หรือ ตัวอักษร ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหาหรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
ข้อมูลเกี่ยวกับ ภาษาเอา ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ หรือ ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ภาษา
ภาษาอื่น