อักษรตันกัต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรตันกัต หมายถึง"โคลน" มาจากส่วนของคำว่า "น้ำ" และทั้งหมดของคำว่า "ดิน"

อักษรตันกัต (Tangut script) มีพื้นฐานจากอักษรจีนและอักษรคีตัน ใชในการแปลคัมภีร์ทางพุทธศาสนาจากภาษาสันสกฤตและภาษาอื่น ประดิษฐ์ขึนเมื่อราวพ.ศ. 1580 ใช้มาจนถึงราว พ.ศ. 2100 การถอดความอักษรตันกัตใช้พจนานุกรมจีน- ตันกัตที่เขียนขึ้นเมื่อราวพ.ศ. 1700 การออกเสียงของอักษรนี้ยังไม่แน่นอน เป็นระบบการเขียนแบบโลโกแกรม มี 6,600 ตัว แสดงความหมายและเสียงในวิธีการเดียวกับอักษรจีน

[แก้] ใช้เขียน

  • ภาษาซิเซียซึ่งเป็นภาษาตระกูลจีน-ทิเบตที่ตายแล้ว เคยใช้พูดในอาณาจักรตันกัตทางตะวันตกเฉียงเหนือของจีนจนถึงราว พ.ศ. 2100

[แก้] อ้างอิง

เครื่องมือส่วนตัว
สิ่งที่แตกต่าง
การกระทำ
ป้ายบอกทาง
มีส่วนร่วม
พิมพ์/ส่งออก
เครื่องมือ
ภาษาอื่น