จังหวัดกาญจนบุรี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จังหวัดกาญจนบุรี
ตราประจำจังหวัดกาญจนบุรี ตราผ้าพันคอลูกเสือ จังหวัดกาญจนบุรี
ตราประจำจังหวัด ตราผ้าผูกคอลูกเสือ
เหรียญที่ระลึกประจำจังหวัดกาญจนบุรีด้านหน้า เหรียญที่ระลึกประจำจังหวัดกาญจนบุรีด้านหลัง
เหรียญที่ระลึกประจำจังหวัด
Cquote1.png แคว้นโบราณ ด่านเจดีย์
มณีเมืองกาญจน์ สะพานข้ามแม่น้ำแคว แหล่งแร่น้ำตก
Cquote2.png
ข้อมูลทั่วไป
ชื่ออักษรไทย กาญจนบุรี
ชื่ออักษรโรมัน Kanchanaburi
ชื่อไทยอื่นๆ เมืองกาญจน์
ผู้ว่าราชการ นายเริงศักดิ์ มหาวินิจฉัยมนตรี
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2551)
ISO 3166-2 TH-71
ต้นไม้ประจำจังหวัด ขานาง
ดอกไม้ประจำจังหวัด กาญจนิกา
ข้อมูลสถิติ
พื้นที่ 19,483.148 ตร.กม.[1]
(อันดับที่ 3)
ประชากร 833,423 คน[2] (พ.ศ. 2552)
(อันดับที่ 30)
ความหนาแน่น 42.78 คน/ตร.กม.
(อันดับที่ 73)
ศูนย์ราชการ
ที่ตั้ง ศาลากลางจังหวัดกาญจนบุรี ถนนแสงชูโต ตำบลปากแพรก อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 71000
โทรศัพท์ (+66) 0 3451 1778
เว็บไซต์ จังหวัดกาญจนบุรี
แผนที่
 
แผนที่ประเทศไทย เน้นจังหวัดกาญจนบุรี

สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

จังหวัดกาญจนบุรี ลักษณะทางภูมิประเทศส่วนใหญ่จะเป็นป่า ซึ่งจะมีทั้งป่าดงดิบและป่าโปร่ง มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร

เนื้อหา

[แก้] หน่วยการปกครอง

การปกครองแบ่งออกเป็น 13 อำเภอ 95 ตำบล 943 หมู่บ้าน 206 ชุมชน 31 เทศบาล 90 อบต.

  1. อำเภอเมืองกาญจนบุรี
  2. อำเภอไทรโยค
  3. อำเภอบ่อพลอย
  4. อำเภอศรีสวัสดิ์
  5. อำเภอท่ามะกา
  6. อำเภอท่าม่วง
  7. อำเภอทองผาภูมิ
  1. อำเภอสังขละบุรี
  2. อำเภอพนมทวน
  3. อำเภอเลาขวัญ
  4. อำเภอด่านมะขามเตี้ย
  5. อำเภอหนองปรือ
  6. อำเภอห้วยกระเจา
 แผนที่

[แก้] สถานที่ท่องเที่ยว

[แก้] อุทยาน

[แก้] น้ำตก

[แก้] เขื่อน

[แก้] ห้างสรรพสินค้า

[แก้] อื่นๆ

[แก้] สัญลักษณ์ประจำจังหวัด


[แก้] การศึกษา

อุดมศึกษา

โรงเรียน

[แก้] อ้างอิง

  1. ^ ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ข้อมูลการปกครอง." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad76/jungwad76.htm [ม.ป.ป.]. สืบค้น 18 เมษายน 2553.
  2. ^ กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/stat/y_stat.html 2553. สืบค้น 30 มีนาคม 2553.

[แก้] ดูเพิ่ม

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

พิกัดภูมิศาสตร์: 14°01′N 99°32′E / 14.02°N 99.53°E / 14.02; 99.53