รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย

เนื้อหา

[แก้] สถานีโทรทัศน์แบบไม่เสียค่าใช้จ่าย

[แก้] สถานีโทรทัศน์ของกองทัพบก

[แก้] สถานีโทรทัศน์ของรัฐวิสาหกิจ

[แก้] สถานีโทรทัศน์ที่เอกชนเช่าสัญญาสัมปทาน

[แก้] สถานีโทรทัศน์แห่งชาติ

[แก้] สถานีโทรทัศน์สาธารณะ

[แก้] โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจ

[แก้] สถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก

[แก้] ส่วนกลาง

[แก้] ส่วนภูมิภาค

[แก้] สถานีโทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียม

[แก้] สถานีที่มีจำนวนมากกว่า 1 ช่องรายการ

[แก้] สถานีที่มีจำนวน 1 ช่องรายการ

[แก้] สถานีโทรทัศน์ทางศาสนา

  • สถานี sbt

[แก้] สถานีโทรทัศน์ประเภทอื่น

[แก้] สถานีโทรทัศน์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต

[แก้] สถานีโทรทัศน์ในส่วนภูมิภาค

กรมประชาสัมพันธ์ ได้ริเริ่มโครงการก่อตั้ง สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย เครือข่ายในส่วนภูมิภาค จำนวน 12 แห่ง ทั่วประเทศ ในจังหวัดต่างๆ ดังต่อไปนี้ จังหวัดกาญจนบุรี [2], จังหวัดขอนแก่น [3], จังหวัดจันทบุรี [4], จังหวัดเชียงใหม่ [5], จังหวัดนครศรีธรรมราช, จังหวัดพิษณุโลก [6], จังหวัดภูเก็ต, จังหวัดยะลา, จังหวัดระยอง, จังหวัดสงขลา [7], จังหวัดสุราษฎร์ธานี [8] และ จังหวัดอุบลราชธานี [9]

[แก้] สถานีโทรทัศน์ในอดีต

[แก้] สถานีโทรทัศน์แบบไม่เสียค่าใช้จ่ายของรัฐบาล

[แก้] สถานีโทรทัศน์แห่งชาติ

[แก้] สถานีโทรทัศน์เสรี

[แก้] สถานีโทรทัศน์ส่วนภูมิภาค

  • สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จังหวัดลำปาง - ดำเนินการโดย สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 กรมประชาสัมพันธ์ ต่อมา สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 ย้ายที่ทำการจากจังหวัดลำปาง ไปสู่จังหวัดเชียงใหม่ ส่งผลให้ต้องเปลี่ยนแปลงคลื่นความถี่ในการออกอากาศ และปรับปรุงระบบการบริหารงาน จึงเปลี่ยนชื่อเป็น สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จังหวัดเชียงใหม่ (2 เมษายน พ.ศ. 2505 - 29 ธันวาคม พ.ศ. 2543)
  • สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จังหวัดระยอง - ดำเนินการโดย สำนักประชาสัมพันธ์เขต 7 กรมประชาสัมพันธ์ ต่อมา สำนักประชาสัมพันธ์เขต 7 ย้ายที่ทำการจากจังหวัดระยอง ไปสู่จังหวัดจันทบุรี ส่งผลให้ต้องเปลี่ยนแปลงคลื่นความถี่ในการออกอากาศ และปรับปรุงระบบการบริหารงาน จึงเปลี่ยนชื่อเป็น สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จังหวัดจันทบุรี (พ.ศ. 2540 - พ.ศ. 2542)

[แก้] สถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก

[แก้] ข้อมูลเพิ่มเติม

  1. ^ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 จนถึงปัจจุบัน ก่อนหน้านั้น ออกอากาศในระบบวีเอชเอฟ ช่องสัญญาณที่ 3 ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513-30 มิถุนายน พ.ศ. 2550
  2. ^ ก่อนหน้านั้น เริ่มทดลองออกอากาศ ในระบบวีเอชเอฟ (ความถี่ต่ำ) ทางช่องสัญญาณที่ 11 จากเครื่องส่งของกรมประชาสัมพันธ์ที่ อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ ในราวเดือนตุลาคม พ.ศ. 2528 ต่อมาย้ายเครื่องส่งและความถี่ ในการทดลองออกอากาศ เป็นระบบวีเอชเอฟ (ความถี่สูง) ทางช่องที่ 11 จากเครื่องส่งของ สทท.กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 จนกระทั่งเปิดสถานีอย่างเป็นทางการ

[แก้] ดูเพิ่ม

ภาษาอื่น